Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลหลังคลอด
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาหลังคลอด 12 B
6.Bladder
กระเพาะปัสสาวะ
7.Bleeding & Lochia
การมีเลือดออกและน้ำคาวปลา
5.Belly & Fundus
หน้าท้องและยอดมดลูก
8.Bottom
แผลฝีเย็บ
4.Breast & Lactation
หัวนม เต้านม
9.Bower movement
การเคลื่อนไหวลำไส้
3.Body temperature and Blood pressure
อุณภูมิกายเเละความดันโลหิต
10.Bluse
ภาวะเศร้า
2.Body condition
การประเมินการไหลเวียนเลือด
11.Baby
สภาพทารก
1.Background
ประวัติต่างๆ
12.Bonding and Attachhment
ความผูกพันและสัมพันธภาพ
การพยาบาลหลังคลอด 24 ชั่วโมงแรก
ส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
การบริหารร่างกาย
ส่งเสริมให้ลุกจากเตียงเร็ว
ความสุขสบายและบรรเทาอาการเจ็บป่วย
โภชนาการและการขับถ่าย
ส่งเสริมความสำเร็จในการให้นมบุตร
สุขภาพจิตและสัมพันธภาพ
การปรับตัวของมารดา
2.Taking-hold phase
ระยะพึ่งพาและไม่พึ่งพา
เริ่มปรับตัวได้ สนใจตัวเองน้อยลง สนใจทารกมากขึ้น
สนใจการให้นมบุตร
3-10 วันแรกหลังคลอด
3.Letting-go phase
ระยะพึ่งตนเอง
พัฒนกิจของการเป็นมารดา
ต้องทิ้งบทบาทเดิมที่เป็นอิสระ
2 สัปดาห์หลังคลอด
1.Taking-in phase ระยะพึ่งพา
สนใจตนเองและต้องการพึ่งพาคนอื่น
เฉื่อยชา ไม่เคลื่อนไหว
1-2 วันแรกหลังคลอด
ไม่อยากสัมทารก
4.Postpartum blues
อารมณ์เศร้าหลังคลอด
มักเกิดใน 3 สัปดาห์ รุนแรงในครรภ์แรก
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล หงุดหงิด นอนไม่หลับ
10 วันแรก จะเศร้ามาก 50-70%
การเปลี่ยนแปลงภูมิคุ้มกัน
ป้องกันการสร้างแอนติบอดีโดยฉีด Rho gram ใน 72 ชม.แรกหลังคลอด
หญิงตั้งครรภ์แรกมีความไวต่อ ABO แอนติเจน และทำให้ทารกเกิด RBC แตก
ภาวะไม่เข้ากันของเลือด จะทำให้ RBC แตก
ทำให้ตัวเหลืองใน 24 ชม.หลังคลอด ต้องส่องไฟรักษา
แบ่งเป็น 3 ระยะ
2.หลังคลอดระยะต้น (Early)
ระหว่างวันที่ 2-7 หลังคลอด
3.หลังคลอดระยะปลาย (Late)
สัปดาห์ที่ 2-6 หลังคลอด
1.หลังคลอดทันที (Immediate)
24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
อุณหภูมิ
2.Milk fever
อุณหภูมิสูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
หานใน 24 ชม หรือเมื่ออาการคัดนมลดลง
จากนมคัด พบวันที่ 3-4 หลังคลอด
3.Febrile fever
จากการติดเชื้อในร่างกาย
อุณหภูมิสูง38 องศาเซลเซียส ติดต่อกัน 2 วันหรือมากกว่า
1.Reactionary fever
จากการขาดน้ำ อุณหภูมิสูง 37.8 ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส จะลดลงปกติใน 24 ชม แรกหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางเดินปัสสาวะ
การทำงานของไต
ระยะหลังคลอดไตทำงานลดลง
Blood urea nitrogen
เพิ่มขึ้นปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์ไตทำงานเพิ่มขึ้น
การทำงานของไตกลับปกติใน 4-6 wks
น้ำหนัก
เมื่อคลอดน้ำหนักจะลด 4.5-5.5 kg
สัปดาห์แรกหลังคลอดจะลดอีก 2-4 Kg
ขณะท้องน้ำหนักจะเพิ่ม 10-12 Kg
สัปดาห์ที่ 6 จะคงตัวเหมือนปกติ
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะลดลง ทำให้จุได้มากขึ้น
ถ่ายปัสสาวะลำบาก
บวม ช้ำ
กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะทุก 4 ชั่วโมง
การเปลี่ยนแปลงระบบต่อมไร้ท่อ
2.Pituitary hormone
ระดับโพรเเลคตินขึ้นอยู่กับการให้ลูกดูดนมในเเต่ละวัน
ถ้าไม่เลี้ยงลูกด้วยนม โพรแลคตินจะลดลง
ตลอดการตั้งครรภ์โพรแลคตินในเลือดเพิ่มขึ้น
1.Placental hormone
ปัสสาวะผลลบ
ฮอร์โมนจากรกในพลาสมาลดลงเร็วใน 24 ชั่วโมง
3.Hypothalamus-pituitary-ovariafunction
ถ้าไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมาแม่ ประจำเดือนจะกลับ 7-9 สัปดาห์ หลังคลอด
Estrogen และ Progesterone ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว
Prolactin เพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ
ปากมดลูก(Cervix)
หลังคลอดทันทีจะนุ่ม บวม ช้ำ บาง มีรอยถลอกหรือฉีกขาดเล็กน้อย
ช่องคลอด ปากช่องคลอด บริเวณพื้นเชิงกราน
Vagina/Vaginal orifice/Pelvic floor
ระยะแรกปากช่องคลอดบวม ช้ำ
เยื่อพรมจรรย์ฉีกขาดรุ่งริ่งหลายแฉก เรียกว่า Carulae myrtiformes
เอสโตรเจนลด ทำให้เยื่อบุช่องคลอดบางลง ไม่มีรอยย่นและยืดขยายได้ เอสโตรเจนลดจะทำให้ช่องคลอดแห้ง
ผนังหน้าท้อง(Abdominal wall)
อ่อนนุ่ม ปวกเปียก กลับคืนสภาพเดิม 2-3 เดือน
รอยที่หน้าท้อง striae gravidarum จะไม่หายแต่จางเป็นสีน้ำเงิน
มดลูก(Uterus)
ปัจจัยที่ทำให้มดลูกเข้าอู่ช้า
การคลอดยาก
ผ่านการตั้งครรภ์และการคลอดหลายครั้ง
การคลอดยาวนาน
ทารกตัวโต
น้ำคร่ำมาก
เศษรกค้างในมดลูก
ติดเชื้อ
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
องค์ประกอบการกลับคืนสภาพ
ใยกล้ามเนื้อมีการแตกตัวออกเอง/มีการย่อยสลายตัวเอง
Autolysis or self digestion
มดลูกขาดเลือดไปเลี้ยง
Ischemia or Localized anemia
ทันทีหลังคลอดระดับยอดมดลูกอยู่กลางระหว่างสะดือกับหัวหน่าวหรือสูงกว่ากึ่งกลางเล็กน้อย
น้ำคาวปลา Lochia
2.Lochia serosa
สีจางลงเป็นชมพู-น้ำตาล
4-9 วันหลังคลอด
3.Lochia alba
สีเหลืองจาง ขาว
10-14 วันหลังคลอด
1.Lochia rubra
สีแดงเข้ม
1-3 วันหลังคลอด
อาการปวดมดลูก Afterpains
เกิดใน 2-3 วันแรกหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมมารดาหลังคลอด
ความผูกพันและสัมพันธภาพ
สร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดา บิดา และทารก
การสัมผัสของมารดา
เป็นการเริ่มพัฒนาความสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงผิวหนัง
Palmar erythema:อาการร้อน แดงที่ฝ่ามือ
เหงื่อออกมากโดยเฉพาะกลางคืน
การเปลี่ยนแปลงทางเดินอาหาร
2-3 วันแรกหลังคลอด อยากน้ำและอาหารมากขึ้น
ระยะแรกหลังคลอดอาจจะท้องผูก เนื่องจากลำไส้เคลื่อนไหวลดลง
การเปลี่ยนแปลงระบบหัวใจและหลอดเลือด
การเปลี่ยนแปลงหลังคลอด 3 ประการ
หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนของรกสิ้นสุดลงเป็นการตัดตัวกระตุ้นที่ทำให้หลอดเลือดขยาย
มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกหลอดเลือดที่สะสมระหว่างตั้งครรภ์กลับเข้าสู่หลอดเลือด
การไหลเวียนเลือดระหว่างมดลูกกับรกสิ้นสุดลง