Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดปกติ, นางสาวฐิติยา ทรงชัยวรวุฒ 180101047 พยบ ปี3 - Coggle Diagram
การคลอดปกติ
กลไกการคลอดปกติ
การก้มของศีรษะทารกจนคางชิดกับหน้าอก ทำให้ส่วนนำของทารกเปลี่ยนจากเส้นผ่านศูนย์กลาง occipitofrontal (OF) เซนติเมตร มาเป็น suboccipito bregmatic (SOB)การคลอดจึงเป็นไปได้ง่ายขึ้นเพราะทารกใช้เส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กที่สุดเป็นส่วนนำที่จะผ่านช่องคลอดออกมา
การที่ส่วนกว้างที่สุดของศีรษะทารก biparietal diameter ผ่านเข้าสู่ช่องเชิงกราน โดยรอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวขวาง (transverse) หรือแนวเฉียง (oblique)กับช่องเชิงกรานเชิงกรานชนิดอื่นๆ
การที่ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงไปในช่องเชิงกราน เกิดจากแรงดันของน้ำคร่ำแรงดันโดยตรงที่ยอดมดลูกดกก้นทารกลงมาขณะมดลูกหดตัวรัด การหดรัดของกล้ามเนื้อผนังหน้าท้อง มดลูกและการยืดยาวออกของลำตัวทารกจาก fetal axis pressure
การหมุนของศีรษะภายในช่องเชิงกรานให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับช่องออกเชิงกรานมากที่สุดเวลาออกทารกต้องหมุนท้ายทอยไปทางด้านหน้า (OA) เพื่อให้แนวต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลัง(anterior posterior) ซึ่งเป็นแนวที่กว้างที่สุดของช่องออกเชิงกราน จึงสามารถคลอดปกติได้
คือการที่ศีรษะรกเงยหน้าผ่านพ้นช่องทางคลอดออกมาภายนอก โดยเมื่อมีการหมุนของศีรษะทารกแล้ว ทารกจะใช้ส่วน subocciput เป็นจุดหมุนยันกับใต้รอยต่อกระดูกหัวเหน่า
การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด เพื่อสัมพันธ์กับส่วนของทารกที่อยู่ภายในช่องทางคลอด เพื่อให้รอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลังของช่องออกเชิงกราน
การหมุนของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด เพื่อให้ศีรษะและไหล่ตั้งฉากกันตามธรรมชาติภายหลังจากเกิดการหมุนภายในของไหล่
การขับเคลื่อนเอาตัวทารกออก มาทั้งหมด โดยนับตั้งแต่หลังจากการหมุนภายนอกของศีรษะเป็นต้นไป ได้แก่ การคลอดไหล่ ลำตัว แขน และขาของทารก
องค์ประกอบของการคลอด
-
-
- สิ่งที่คลอดออกมา (passengers) ได้แก่ ทารก รก เยื่อหุ้มทารก และน้ำคร่ำ
- สภาวะจิตใจของผู้คลอด (Psychological condition)
- สภาวะร่างกายของผู้คลอด (Physical condition)
- ท่าของผู้คลอด (Position of labor)
-
-
อาการแสดงการลอกตัวของรก
ผู้ทำคลอดจะตรวจพบว่ามีเลือดไหลออกมาทางช่องคลอด เลือดที่ไหลออกมาจะมี ลักษณะสีแดงคล้ำไหลออกมาทางช่องคลอดทันทีประมาณ 30-60 ซีซี. การลอกตัว แบบสมบูรณ์จะไม่พบ vulva sign
ผู้ทำคลอดจะตรวจทางหน้าท้องพบว่ามดลูกแบ่งออกเป็นสองลอน ลอนบนมีลักษณะ กลมแข็งอยู่ระดับสะดือหรือเหนือสะดือเล็กน้อยเป็นส่วนของยอดมดลูก ลอนล่างอยู่เหนือหัวเห น่ามีลักษณะนิ่มเพราะมีรกอยู่ uterine sign
ผู้ทำคลอดจะตรวจพบว่าด้ายที่ผูกสายสะดือไว้ตรงตำแหน่งที่ชิด vulva ภายหลังทารก คลอดจะเลื่อนต่ำลงมาจากตำแหน่งเดิมมากกว่า 8 ซม.
การทำคลอดปกติ
การทำคลอดศรีษะ
- เมื่อผู้คลอดเบ่งจนศีรษะทารกโผล่ออกมาปากช่องคลอด ซึ๋งศีรษะ ทารกจะไม่ผลุบกลับเข้าไปในช่องคลอด เมื่อมดลูกคลายตัว หรือผู้คลอดหยุดเบ่ง เรียกว่า crowning
- ให้ผู้คลอดเบ่งตามจังหวะการหดรัดตัวของมดลกจนกระทั่ง เห็นศีรษะทารกโผล่ประมาณ 3-4 เซนติเมตร ใหใชนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้นิ้วกลางของ มือข้างที่ไม่ถนัดแตะไว้บนศีรษะทารก กดศีรษะเพื่อควบคุมไม่ให้ศีรษะเงยขึ้น ก่อนกำหนด ส่วนมือข้างที่ถนัดให้ใช้นิ้วหัวแม่มืออยู่ด้านหนิ้ง อีก 4 นิ้วอยู่อีกด้านหนึ่ง วางไว้ใต้ฝีเย็บ
3.เมื่อหน้าผากผ่านพ้นปากช่องคลอดออกมาแล้ว ให้ใช้มือที่ควบคุม บริเวณท้ายทอย โกยศีรษะที่อยู่บริเวณเหนือขอบเแย็บให้เงยขึ้น พร้อมกับ มืออีกช้างรวบบริเวณเแย็บดันหน้าทารกให้เงยขึ้นช้าๆ จนคางผ่านพ้นแเย็บ
- ภายหลังศีรษะทารกเกิดแลว หามมิใหผูคลอดเบ่ง โดยใหอาปาก หายใจทางปากยาวๆ ลึกๆ หรือร้องอาๆ แต่ถ้าผู้คลอดรู้สึกว่าจะกลั้นเบ่งไว้ ไม่ได้ ให้บอกผู้ทำคลอดทันที เช็ดมูกที่ปกคลุมบริเวณตาทารกด้วย สำลีชุบนํ้าเกลือล้างแผลก้อนละข้าง โดยเช็ดจากหัวตาจนตลอดถึงหาง ตา
- ใช้ลูกสูบยางแดงที่!]บลมออกหมดแล้ว ดูดมูกจากปาก ภายในลำคอจนหมด ระยะนี้สำคัญมาก เนื่องจากขณะนี้ทรวงอกของทารกผ่านเช้ามาในช่องเชิงกราน และจะถูกบีบ ทำให้มูกและนํ้าคราที่ทารกสูดหายใจเข้าไปตามธรรมชาติในขณะที่อยู่ในครรภ์มารดา ถูกขับไล่ออกมาจนหมด ผู้ทำคลอดจึง ควรรออยู่ประมาณ 30วินาที เพื่อให้มูกและนํ้าคราถูกขับออกให้มากที่สุด หรือจนกระทั่งเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกและผู้คลอดเรึ่มเบ่งอีกครั้งหนื่ง
การทำคลอดไหล่
ทำคลอดไหล่หน้า
เมื่อไหล่อยู่ในแนวตรง ช่วยทำคลอดโดยใช้ 2 มือจับ ศีรษะบริเวณขมับของ ทารกให้อยู่ระหว่างฝ่ามือทั้งสองช้าง ให้มือช้างที่ไม่ถนัดอยู่ด้านบน กดศีรษะทารกลงล่างตามแนว ทิศทางของช่องเชิงกรานส่วนบนเมื่อเห็นไหล่หน้า จนถึงบริเวณซอกรักแร้จึงหยุด
การทำคลอดไหล่หลัง
จับศีรษะทารกให้ บริเวณขมับทั้งสองช้างอยู่ระหว่างฝ่ามือทั้งสอง ดังเช่น การทำคลอดไหล่หน้า แล้วยกศีรษะทารกขึ้นไป ทางหน้าห้องผู้คลอดประมาณ 45 องศากับ 1 แนวดิ่ง ให้ไหล่หลังคลอดออกมา
การทำคลอดลำตัว
- ดึงตัวทารกออกมาช้าๆ โดยใช้มือช้างที่ถนัดอยู่ช้างล่างช่วยพยุงรองรับ ให้ ศีรษะอยู่ในอุ้งมือ และคอทารกอยู่ระหว่างซอกนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ ค่อยๆ ลด ศีรษะทารกลง
- มือช้างที่ไม่ถนัดค่อยๆ ลูบตามหลังทารกใน ขณะที่ลำตัวทารกค่อยๆ เคลื่อนออกมา จนก้น และต้นขาทารกคลอดออกมา ให้ใช้นิ้วชี้สอดเช้า ไประหว่างขาทั้งสองช้างของทารก และค่อยๆ เลื่อนไปจนถึงช้อเห้าของทารก ใช้นิ้วหัวแม่มือ และนิ้วกลางกำรอบช้อเห้าทารกให้แน่น
- เมื่อทารกคลอดหมดทั้งตัว นำทารกวางบนผ้าที่จัดเตรยมไว้ โดยระวัง ไม่ให้สายสะดือดึงรั้ง
- แจ้งเวลาทารกคลอดและเพศของทารก
- ดูดมูกจากปากทารกออกให้หมด
- ใช้ผ้าขนหนูที่อุ่นๆ เช็ดศีรษะและตัวทารกให้แห้งสะอาดทันที เพื่อช่วย รักษาอุณหภูมิร่างกายเมื่อคลอด กระตุ้นให้ร้อง
- ประเมินทารกแรกเกิด ลูสีผิว การร้อง การเคลื่อนไหวของแขนขา การ หายใจ
กลไกการลอกตัวของรก
- การลอกตัวแบบสมบูรณ์ (Schultze method)
การลอกตัวแบบนี้รกจะเริ่มลอกตัว ตรงกลางรกก่อน ทำให้เกิดก้อนเลือดขังหลังเนื้อรกหรือ retroplacenta hematoma ดันเอา ส่วนกลางของรกให้ยื่นโป่งออกมา
- การลอกตัวแบบไม่สมบูรณ์ (Metthews Duncan method)
รกจะเริ่มลอกตัวตรง ริมรกก่อน ทำให้ไม่เกิด retroplacenta hematoma เพราะเลือดที่เกิดจากการลอกตัวของรก จะค่อยๆเซาะเนื้อรกและเยื่อหุ้มเด็กให้แยกจากเยื่อบุมดลูกแล้วไหลออกมาให้เห็นทางช่องคลอด
ชนิดของการคลอด
- การคลอดปกติ (Normal labor or Eutocia)
-
กระบวนการทั้งหมดเป็นไปตามธรรมชาติ (spontaneous labor) ไม่ต้องใช้เครื่องมือ หรือวิธีการพิเศษใด ๆ ช่วย
-
-
-
-