Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินปัสสาวะ 👩⚕️👨⚕️ - Coggle Diagram
ระบบทางเดินปัสสาวะ 👩⚕️👨⚕️
การใส่ถุงยางอนามัยระบายปัสสาวะ (Condom Catheter)
ใช้ในผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องกลั้นปัสสาวะไม่ได้
วัตถุประสงค์
เพื่อรองรับปัสสาวะในผู้ชายที่มีปัญหาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
เพื่อตวงปัสสาวะที่ระบายออกมาจากท่อปัสสาวะได้แม่นยำมากขึ้น
การดูแลระหว่างคาสายสวนปัสสาวะ
ต่อสายสวนปัสสาวะกับ sterile closed urinary drainage system, ยึดตรึงสายให้ เหมาะสม
รักษาระบบระบายปัสสาวะให้เป็นระบบปิด
ล้างมือและใส่ถุงมือสะอาดก่อนที่จะสัมผัสสายสวนปัสสาวะ และล้างมือหลังจากถอดถุงมือ
เก็บตัวอย่างปัสสาวะจากช่องที่ออกแบบไว้ (sampling port) โดยใช้ aseptic technique
จัดวางตำแหน่งของถุงเก็บปัสสาวะให้ต่ำกว่า ระดับกระเพาะปัสสาวะ โดยไม่สัมผัสกับพื้น
ระบายปัสสาวะออกจากถุงเก็บปัสสาวะบ่อยพอที่จะให้ปัสสาวะไหล ได้สะดวกและไม่ไหล ย้อนกลับ
ไม่เติม antiseptic หรือ antimicrobial solutions ในถุงเก็บปัสสาวะ
ไม่เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะโดยไม่จำเป็น หรือไม่เปลี่ยนเป็น routine
ดูแล meatal hygiene ประจำวัน
ไม่ควรทำ bladder irrigation
การดูแลผู้ป่วยขณะที่ใส่สายสวนปัสสาวะ ชนิดคาสายไว้
ดูแลให้เป็นระบบปิด
ถุงรองรับปัสสาวะต้องอยู่ต่ำกว่าระดับของกระเพาะปัสสาวะ และห้ามสัมผัสพื้น
เก็บปัสสาวะเพื่อส่งตรวจด้วยวิธี good aseptic technique
ส่งเสริมการระบายปัสสาวะ
แนะนาผู้ป่วยให้ดื่มน้ำให้เพียงพอ ประมาณ 1,500 -2,000 มิลลิลิตร หากไม่มีข้อจำกัด
ป้องกันการบาดเจ็บ
ระมัดระวังการเลื่อนเข้า- ออก หรือการดึงรั้งของสาย สวนปัสสาวะ โดยใช้พลาสเตอร์ยึดตรึงไว้ตลอดเวลา
ระยะเวลาเปลี่ยนสายสวนและถุงรองรับปัสสาวะ
เปลี่ยนสายสวน ให้เปลี่ยนเมื่อชำรุด รั่ว อุดตันหรือมีการติดเชื้อของ ทางเดินปัสสาวะเท่านั้น
คาสายสวน 2 สัปดาห์แล้วเปลี่ยน
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ (Bladder irrigation)
การใส่น้ำยาเข้าไปชะล้างในกระเพาะปัสสาวะทางสายสวนปัสสาวะ แล้วปล่อยให้น้ำยาไหลออกมา
วัตถุประสงค์
ระงับการตกเลือด ล้างหนอง สิ่งที่คั่งค้างภายหลังผ่าตัดทางเดินปัสสาวะ
ลดการอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะทางานดีขึ้น
ล้างกระเพาะปัสสาวะให้สะอาด ในผู้ที่ต้องคาสายสวนปัสสาวะนานๆ ปัสสาวะขุ่น เป็นตะกอนหรือหนอง
ข้อบ่งชี้
ผู้ที่ผ่าตัดในทางเดินปัสสาวะ เช่น ผ่าตัดต่อมลูกหมาก เนื้องอกในกระเพาะปัสสาวะ
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ซึ่งผู้ป่วยมักมีปัสสาวะเป็นเลือดอาจจะทeให้เกิดลิ่มเลือดไปอุดกั้นกระเพาะปัสสาวะไม่ให้ไหลหรือไหลไม่สะดวก
ผู้ป่วยที่มีอาการอักเสบติดเชื้อมาก เกิดกระเพาะปัสสาวะขุ่นเป็นตะกอนขาว หรือเป็นหนอง มักพบในผู้ป่วยที่มีการใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้นานๆ
ผู้ป่วยโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบเป็นต้น
วิธีการการสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะเป็นครั้งคราว
การสวนล้างเป็นครั้งคราวโดยกระบอกสวนล้าง แบบเปิด
การสวนล้างเป็นครั้งคราวแบบระบบปิด
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะต่อเนื่องตลอดเวลา (Continuous Bladder Irrigation ;CBI)
วิธีการสวนล้างที่ใช้กับผู้ป่วยที่มีเลือดสดๆ ออกค่อนข้างมาก หรือออกมาเรื่อยๆ
การพยาบาลระหว่างการสวนล้าง
กำหนดความสูงของขวดน้ำเกลือสูงจากผู้ป่วยประมาณ 60 – 80 เซนติเมตร
สังเกตลักษณะ และบันทึกปริมาณ จำนวนน้ายาเข้า และปัสสาวะออก
ถ้าน้ำยาไม่ไหลเข้า หรือไหลเข้าน้อย จำนวนปัสสาวะที่ไหลออกมาจะมีสีแดง ปนเลือด หรือขุ่นเป็นตะกอน แสดงว่าอาจมีสิ่งที่ทำให้ท่ออุดตันหรือตำแหน่ง ของสายสวนไม่ค่อยดีจึงไม่ควรใส่น้ำยาเข้าไปอีก ให้รีดดึงสายสวนปัสสาวะ