Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
Clinical assesment
3.จากการวัดความสูงของมดลูก
3.1 จากการคลำระดับความสูงของยอดมดลูก
3.2 จากการวัดระดับความสูงยอดมดลูกด้วยสายเทป
ใช้วิธี Mcdonald
-อายุครรภ์(สัปดาห์)=ความสูงของมดลูก(ซม.)x8/7
-อายุครรภ์(เดือน) =ความสูงของยอดมดลูก(ซม.)x2/7
5.การตรวจนับจำนวนทารกในครรภ์ดิ้น
1.วิธีการนับครบสิบ count to ten เป็นการนับจำนวนครั้งของการดิ้นหรือการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์อย่างต่อเนื่องจนครบ 10 ครั้ง ภายใน 4 ชั่วโมง จะเริ่มนับเมื่ออายุคครภ์ 32 สัปดาห์
วิธีการของซาดอฟสกี้ เป็นการนับการดิ้นของทารกในครรภ์วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
ผลรวมจำนวนครั้งของการดิ้น 3 เวลา หลังอาหาร มีค่า >10 ครั้ง แปลผลว่า สุขภาพทารกปกติ
2.การชั่งน้ำหนักมารดา
4.ตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจทารก(FHR)
1.การซักประวัติ
ประวัติการใช้ยาและแพ้ยา
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติครอบครัว
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติส่วนตัว : อายุ
ุ6. ถ้าทารกดิ้นดิ้น< 10 ครั้ง/วัน ให้มาพบแพทย์ก่อนนัด ปกติทารกในครรภ์จะมีสัญญาณอันตรายก่อนที่จะเกิดภาวะขาดออกซิเจน(Fetal distress) เรียกว่า movement alarm signal (MAS) โดยมีสัญญาณทารกดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง ต่อ 12 ชั่วโมง เป็นเวลา 2 วัน ติดต่อกัน และถ้าหยุดดิ้นหรือหยุดเคลื่อนไหว ประมาณ 12-24 ชั่วโมง ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์
ฺBiochemical measurement
เก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์
ตรวจหาโรคทางพันธุกรรม : ธาลัสซีเมีย ฮีโมมฟีเลีย ภาวะทารกบวมน้ำ การิดเชื้อไวรัส เป็นต้น
4.การตรวจระดับ Estriol ในเลือดและปัสสาวะจากมารดา
การตรวจทำได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 28-32 wks เป็นต้นไป
การแปลผล
E3 ที่อยู่ในช่วง 2SD ของแต่ละสัปดาห์ : ทารกปกติดี reasurring
E3ที่ต่ำกว่าอยู่ในช่วง 2SD ของแต่ละสัปดาห์ : ไม่อาจรับประกันได้ว่าทารกปกติดี nonreasurring
ระดับE3 จะเพิ่มอย่างรวดเร็วในช่วงอายุครรภ์ 35-36 wks และสูงคงที่ที่ 40 wks
พบผลบวกลวงสูงจากหลายปัจจัยที่รบกวนระดับ E3
ใช้ยาสเตียรอยด์
กินยาปฏิชีวนะ ทำให้ลดการดูดซึมลำไส้สตรีตั้งครรภ์
2.การดูดเนื้อเยื่อทารก CVS เพื่อศึกษาหาโครโมโซม
วิธี trancervical chorionic villus sampling ทำเมื่ออายุครรภ์ 10-14 สัปดาห์
วิธี transabdominal chorionic villus sampling
5.การตรวจHuman placenta lactogen
เริ่มสร้างในสัปดาห์ที่ 3 หลังจากตกไข่
ระดับสูงสุดเมื่อ GA 36-37 wks
1.การคัดกรองจากเลือดมารดาหาระดับแอลฟาฟีโตโปรตีน
ตรวจเมื่ออายุครรภ์ 15 สัปดาห์
ค่าปกติ AFP = 2.5 MoM
ถ้า AFP > 2.5 MoM ทารกเสี่ยงมีท่อประสาทเปิด
ถ้า AFP < 2.5 MoM ทารกเสี่ยงเป็นกลุ่มอาการดาวน์
6.การเจาะน้ำคร่ำ
1.การตรวจหาโครโมโซม เพื่อประเมิน Down syndrome - ประเมินเมื่ออายุครรภ์ระหว่าง 15-18 wks
2.ทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์ - ประเมินเมื่ออายุครรภ์ 36-37wks เพื่อความเสี่ยงการเกิดภาวะ respiratory distress syndrome
การพยาบาล
การพยาบาล: หลังเจาะน้ำคร่ำ
ให้นอนพักประมาณ 15-30 นาทีหลังการเจาะน้ำคร่ำ
สังเกตอาการผิดปกติเช่นอาการปวดท้องหรืออาการเลือดออก
ถ้าตรวจหาโครโมโซมที่มีความเสี่ยงเป็น Down Syndrome จะนัดฟังผล 4 สัปดาห์
การพยาบาล: ก่อนเจาะน้ำคร่ำ
(1) สร้างสัมพันธภาพ
(2) อธิบายเหตุผลขั้นตอนการเจาะน้ำคร่ำ
(3) ประเมินอายุครรภ์ก่อนทำการเจาะน้ำคร่ำ
(4) อธิบายการดูแลตนเองขณะทำและหลังทำ
(5) เปิดโอกาสให้ซักถาม
(6) เตรียมเครื่องมือเจาะน้ำคร่ำ
(7) ให้ปัสสาวะก่อนทำ
(8) ให้กำลังใจอยู่ข้างเตียงขณะทำ
Biophysical assesment
ระยะตั้งครรภ์
Non stress test
เป็นการตรวจดูอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว
ข้อบ่งชี้
(1) ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
(2) ตั้งครรภ์เกินกำหนด
(3) ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
(4) มีภาวะแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์: เบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางร่วมกับการตั้งครรภ์โรคหัวใจร่วมกับการตั้งครรภ์เป็นต้น
(5) มีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดตั้งครรภ์แฝด
(6) ตั้งครรภ์แฝด
(7) มีภาวะ Rh isoimmunization
(8) อายุมากกว่า 35 ปี
9) มีประวัติทารกตายในครรภ์
การพยาบาล
การพยาบาล
(1) สร้างสัมพันธภาพ
(2) อธิบายเหตุผลและขั้นตอนของการทำ NST
(3) แนะนำให้ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
(4) จัดให้สตรีตั้งครรภ์นอนท่าศีรษะสูง 30 °
(5) ตรวจครรภ์หาตำแหน่งหลังส่วนสะบักด้วยวิธี Leopold Maneuver คาดสายรัดหน้าท้องโดยให้หัว ultrasonic transducer วางบนตำแหน่งที่ฟังการเต้นของหัวใจทารกได้ชัดเจน
(6) แนะนำให้กดปุ่ม fetal movement marker เมื่อรู้สึกว่าทารกดิ้น / เคลื่อนไหว
(7) กรณีที่ต้องการประเมินการหดรัดตัวของมดลูกให้คาดหน้าท้องบริเวณยอดมดลูกด้วย toco transducer เพื่อบันทึกระยะเวลา (duration) ความถี่ห่าง (interval) และความรุนแรง (severity) ของการหดรัดตัวของมดลูก
(8) เปิดเครื่องบันทึกการเต้นของหัวใจทารกลงบนกราฟนาน 20 นาที
(9) กรณีที่ทารกในครรภ์ไม่ดิ้นอาจเนื่องจากทารกหลับให้กระตุ้นทารกทางหน้าท้องด้วย fetal acoustic stimulator
Contraction stress test
เป็นการตรวจดูการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อมดลูกหดตัว
ข้อห้าม
สตรีตั้งครรภ์ที่มีประวัติผ่าตัดการคลอดมาก่อน
มีประวัติเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
มีครรภ์แฝด
มีมดลูกรูปร่างผิดปกติหรือมีรกเกาะต่ำหรือมีถุงน้ำคร่ำ blonnauninuum L
การพยาบาล
(1) สร้างสัมพันธภาพกับสตรีตั้งครรภ์
(2) อธิบายเหตุผลของการตรวจสอบสุขภาพทารกด้วยวิธี CST
(3) จัดให้สตรีตั้งครรภ์นอนท่า semi-fowler position เพื่อป้องกัน supine hypotensive syndrome
(4) เตรียมให้ oxytocin 5 ยูนิตในน้ำเกลือ 500 มล. ให้ในอัตรา 5-10 หยด / นาทีจนกระทั่งมดลูกหดรัดตัว 3 ครั้งใน 10 นาทีนานครั้งละ 40-60 วินาที
อาจใช้วิธีอื่นกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ได้แก่ วิธีกระตุ้นหัวนม (nipple stimulation))