Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 ความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพและการคำนวณปริมาณและพลังงานสารอาหาร -…
บทที่3 ความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพและการคำนวณปริมาณและพลังงานสารอาหาร
3.2.1 คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
1.จำแนกชนิดคาร์โบไฮเดรตตามขนาดโมเลกุล ออกเป็น4กลุ่ม
1.2 ไดแซคคาไรด์ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่โมโนแซ็กคาไรด์ เช่น ซูโครสหรือน้ำตาลทราย แล็กโทสหรือน้ำตาลนม มอลโทส
1.4 โพลีแซคคาไรด์หรือคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน ประกอบด้วยโมโนแซ็กคาไรด์จำนวนมากตั้งแต่10โมเลกุลขึ้นไปเชื่อมต่อกันอยู่ ไกลโคเจน แป้ง เซลลูโลส
1.1 โมโนแซคคาไรด์ เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวและจัดเป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กที่สุดเช่น กลูโคส ฟรักโทส กาแล็กโทส
1.3 โอลิโกแซคคาไรด์ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบด้วยโมโนแซคคาไรด์ตั้งแต่3-10โมเลกุลเช่น น้ำตาลแรฟฟิโนส ที่พบในถั่ว จัดเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยยากทำให้เกิดกระบวนการหมักและเกิดก๊าซขึ้นในลำไส้
2.หน้าที่และความสำคัญของคาร์โบไฮเดรต
2.1 ให้พลังงานแก่ร่างกาย คาร์โบไฮเดรต1กรัมให้พลังงาน4กิโลแคลอรี
2.2 สงวนคุณค่าของโปรตีนไว้ไม่ให้เผาผลาญเป็นพลังงาน
2.3 ช่วยให้การเผาผลาญไขมันในร่างกายเป็นไปตามปกติ
2.4 ช่วยร่งกายทำลายสารพิษ
2.5 คาร์โบไฮเดรตในรูปเส้นใยอาหารจะช่วยอุ้มน้ำและเพิ่มมวลอุจจาระในการขับถ่ายปกติ
3.2.2 โปรตีน(Protein)
1.การจำแนกชนิดของโปรตีน
1.2 โปรตีนไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยกรดอะมิโนจำเป็นต่อร่างกายไม่่ครบทุกชนิด ได้แก่โปรตีนที่พบในพืชเป็นโปรตีนที่ไม่สมบูรณ์
1.1 โปรตีนสมบูรณ์ โปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนจำเป็นแก่ร่างกายครบทุกชนิดและมีปริมาณเหมาะสมกับความต้องการ ได้แก่โปรตีนที่มีอยู่ในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
2.หน้าที่และความสำคัญ
2.1 เป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต
2.4 ควบคุมการทำงานต่างๆของร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์ สารภูมิคุ้มกัน
2.2 สร้างและซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่างๆนำโปรตีนไปทดแทนโปรตีนที่สลายไป
2.3 ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
2.5 รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย เนื่องจากกรดอะมิโนมีหน่อยเป็นคาร์บอกซิล สมบัติเป็นกรด
2.6 ให้พลังงาน โปรตีน1กรัมให้พลังงาน4กิโลแคลอรี
3.2.3 ไขมัน (Lipid)
การจำแนกไขมัน
1.1 ไตรกลีเซอไรด์ ( triglycerides;TG) เป็นไขมันที่พบมากที่สุด
1.2 ฟอสฟอลิปิด(phospholipids) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเมมเบรนของเซลล์ต่างๆ
1.3 โคเลสเตอรอล(cholesterol) เป็นไขมันที่พบในอาหารประเภทสัตว์
หน้าที่และความสำคัญ
ช่วยให้อหารมีรส กลิ่น เนื้อสัมผัสที่ดี ทำให้อิ่มนาน
ไขมันให้พลังงานแกร่างกายที่สูงที่สุดคือ9แคลอรีต่อ1กรัมของไขมัน
3.2.4 วิตามิน (Vitamins)
วิตามินที่ละลายในไขมัน (fat-soluble vitamin)
1.1 วิตามินเอ (VitaminA)
ช่วยในการมองเห็น
1.2 วิตามินดี (Calciferol)
ป้องกันโรคกระดูกอ่อน
1.3 วิตามินอี (Tocopherol)
สารต้านอนุมูลอิสระ
1.4 วิตามินเค(Vitamin K)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการแข็งตัวของเลือด
วิตามินที่ละลายในน้ำ (Water-soluble vitamin)
2.1 วิตามินบี1 (thiamine)
ทำหน้าที่เป็นโคเอนไซม์ในกระบวนการย่อย
2.2 วิตามินบี2 (riboflavin)
ช่วยในการเจริญเติบโต ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง
2.4 กรดแพนโทเทนิก (Pantothenic acid)หรือวิตามินบี5 ช่วยในการสร้างฮอร์โมน
2.6 ไบโอติน (biotin)หรือวิตามินบี7
สังเคราะห์ไบโอติน
2.8 วิตามินบี12 ( cobalamin)
มีส่วนสำคัญต่อการทำงานของเซลล์ต่างๆ ไขกระดูก ระบบประสาทส่วนกลางและระบบทางเดินอาหาร
2.3 ไนอาซิน (niacin)หรือวิตามินบี3
ช่วยรักษาสุขภาพของผิวหนัง ลิ้น เนื้อเยื่อของระบบย่อยอาหาร
2.5 วิตามินบี6 (Pyridoxine)
ในกระบวนการเผาผลาญโปรตีน
2.7 โฟเลต (folate)หรือวิตามินบี9
สังเคราะห์กรดนิวคลีอิกเป็นสารพันธุกรรม
2.9 วิตามินซี ใช้ในการเจณิญเติบโตและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ สร้างโปรตีนในการสร้างผิวหนัง