Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลังงานชีวมวลลลลลลลลลลลล Bio Energy - Coggle Diagram
พลังงานชีวมวลลลลลลลลลลลล
Bio Energy
ชีวมวลสามารถน าไปใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงานความร้อนและ
พลังงานไฟฟ้า เรียกว่า กระบวนการเผาไหม้ (Combustion)
เตาเผาชีวมวล
สำาหรับใช้เผาไหม้เชื้อเพลิงแข็งประเภทต่างๆ แบ่งเป็นเตาขนาดเล็กจนถึงเตาขนาดใหญ่
ถ่านอัดแท่ง
การนําชีวมวลที่ผ่านการบดและอบแห้งมาทําการขึ้น
รูปภายใต้ความดันเป็นแท่งทรงกระบอกขนาดเล็ก
Biomass
มวลของวัสดุที่มาจากพืชหรือสัตว์ เป็นสารอินทรีย์ซึ่งเป็นแหล่งกักเก็บ
พลังงานตามธรรมชาติ
มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักและ
สามารถน ามาใช้ผลิตพลังงาน เช่น เศษไม้ น ้าทิ้งจากโรงงานแปรรูป
เป็นพลังงานที่ได้จากพลังงานแสงอาทิตย์
ที่ถูกกักเก็บไว้ในพืชด้วยกระบวนการสังเคราะห์แสงโดยอาศัย คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ
เชื้อเพลิงอัดเม็ด (Fuel Pellet)
ลักษณะการขึ้นรูปคล้ายกับเชื้อเพลิอัดแท่งหรือถ่านอัดแท่งแต่เส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 8-10 มิลลิเมตร
Biogas
ก๊าซที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจาก
ก๊าซออกซิเจน หรือกระบวนการหมัก (Fermentation)ของอินทรีย์
เช่น เศษวัสดุทางการเกษตร มูลสัตว์ น ้าเสียจากการเกษตร น ้าเสีย
องค์ประกอบสวนใหญ่
ก๊าซมีเทน ประมาณ 50-70%
ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ประมาณ 30-50%
ก๊าซอื่นๆ
ก๊าซ
ไฮโดรเจน ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ก๊าซไนโตรเจน และไอน้ำ
Biofuel
เชื้อเพลิงที่ผลิตได้จากชีวมวล
เช่น กิ่งก้านของไม้เนื้ออ่อนและไม้เนื้อ
แข็ง พืชพลังงานเช่น สาหร่าย หรือของเสียจากอุตสาหกรรม
ไบโอดีเซล
เชื้อเพลิงทดแทนประเภทดีเซลจากธรรมชาติ
โดยการน าเอาน ้ามันจากพืชหรือสัตว์ ซึ่ง
เป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทไตรกลีเซอไรด์มาผ่านกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า
ทรานส์เอสเตอริฟิเคชัน ได้ผลิตผลเป็นเอสเตอร์ ที่มีคุณสมบัติที่เหมือนกับน ้ามันดีเซล
วัตถุดิบที่น ามาท าไบโอดีเซล
น ้ามันปาล์มดิบ น ้ามันมะพร้าว น ้ามันสบู่ด า น ้ามันดอกทานตะวัน น ้ามันแรพซีด
(rape seed oil) น ้ามันถั่วเหลือง น ้ามันถั่วลิสง น ้ามันละหุ่ง น ้ามันงา
น ้ามันพืชใช้แล้ว
เชื้อเพลิงเอทานอล
เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์) ชนิดเดียวกันกับที่ใช้ท าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งส่วน
ใหญ่น ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ ในรูปแบบสารเติมแต่งในผลิตภัณฑ์น ้ามันเบนซิน
วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ
วัตถุดิบประเภทแป้ง ได้แก่ ธัญพืช ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าว
ฟ่าง และพวกพืชหัว เช่น มันส าปะหลัง มันฝรั่ง มันเทศ เป็นต้น
วัตถุดิบประเภทน ้าตาล ได้แก่ อ้อย กากน ้าตาล บีตรูต ข้าวฟ่างหวาน เป็นต้น
วัตถุดิบประเภทเส้นใย ส่วนใหญ่เป็นผลพลอยได้จากผลผลิตทางการเกษตร
เช่น ฟางข้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพด ร าข้าว เศษไม้ เศษกระดาษ ขี้เลื่อย วัชพืช
รวมทั้งของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานกระดาษ เป็นต้น