Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหลังคลอด image - Coggle Diagram
การพยาบาลหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด
ระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ
มดลูก
การแตกตัวของใยกล้ามเนื้อ
การลดลงของโปรเจสเตอโรนและเอสโตรเจน
ขนาดของมดลูกใหญ่ขึ้นเล็กน้อย
10-12 วันหลังคลอด
มดลูกเข้าอู่ คลำไม่พบหน้าท้อง
การขาดเลือดไปเลี้ยงมดลูก
ทำให้ขนาดมดลูกลดลง
เกิดลิ่มเลือดอัดตันและปิดหลอดเลือด
เยื่อบุโพรงมดลูก และบริเวณรกเกาะ
น้ำคาวปลา
Lochia rubra
สีแดงเข้ม
1-3 วันแรกหลังคลอด
อาจมีขี้เทา ขน ไขมันเคลือบผิว
Lochia serosa
4-9 วันหลังคลอด
สีค่อยๆจางลงเป็นสีชมพู จนกลายเป็นสีน้ำตาล
Lochia alba
10-14 หลังคลอด
สีเหลืองจางๆ หรือขาว
ไม่ควรมีก้อนเลือดใหญ่ๆออกมา
หากน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นเน่าอาจเกิดการติดเชื้อ
น้ำคาวปลา
ลักษณะน้ำคาวปลาบ่งชีี้ถึงการหายของแผลบริเวณรกเกาะ
ปากมดลูก
ปากมดลูกจะมีลักษณะนุ่ม บวม บาง ช้ำ รอยถลอกหรือฉีกขาด
อาจจะบวมหลายวัน เสี่ยงติดเชื้อง่าย
รูปากมดลูกฉีกไปด้านข้าง รอยแยกรูปยาวรี ถาวร
ช่องคลอด ปากช่องคลอด และบริเวณพื้นเชิงกราน
การลดลงของเอสโตรเจน
เยื่อบุช่องคลอดบางลง
ไม่มีรอยย่น
เริ่มปรากฎ wk 3
ยืดขยายได้มาก
ช่องคลอดแห้ง
อาการยังคงอยู่จนตกไข่หรือเริ่มมีประจำเดือน
ระยะแรกปากช่องคลอดจะบวมช้ำ
ป้องกันการบวมเลือด
รักษาความสะอาดดี
จะกลับคืนใน 2 wk
เยื่อพรหมจารีย์
Carunculae myrtiformes
อวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกยืดขยายเล็กลงและหย่อน
Kegel's excercise
กล้ามเนื้อพื้นเชิงกรานตึงตัวดีขึ้น
ช่องคลอดกระชับขึ้น 4-6 wk
ผนังหน้าท้อง
อ่อนนุ่ม ปวกเปียกในวันแรก
กล้ามเนื้อท้องไม่สามารถพยุงอวัยวะได้
ยืนแล้วพุงยื่น
มีการแยกของrectus muscle
Diastasis recti abdominis
2-3 เดือนกลับสู่สภาพเดิม
Striae gravidarum ไม่หายไป แต่สีจางเป็นสีเงิน
เต้านม
ฮอร์โมนเอสโตรเจน กับ โปรเจสเตอโรนลดลง
หลั่งฮอร์โมนโปรแลคตินเพิ่มขึ้น
กระตุ้นให้มีการสร้างน้ำนม
ทารกดูดนมมารดา
กระตุ้นปลายประสาทหัวนมและลานนม
กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ให้หลั่งฮอร์โมนโปรแลคติน
กระตุ้นเซลล์ผลิตน้ำนม
กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหลัง
หลั่ง oxytocin
บีบรัดตัวขับน้ำนมออกมา let down reflex, milk ejection reflex
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวดี
ป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด
มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น
การขับน้ำนม
ระยะน้ำนมเหลือง
พบใน 1-2 วันแรกหลังคลอด
น้ำ, ไขมัน น้ำตาล น้อยกว่า2ชนิด, โปรตีน เกลือ มากกว่า 2 ชนิด
immuno globulin สูง
ยาระบายอ่อนๆ
ระยะน้ำนมปรับเปลี่ยน
ผลิตต่อจากน้ำนมเหลืองจน 2 wk หลังคลอด
ไขมัน แลคโทส วิตามินละลายในน้ำ แคลอรี พลังงานมากกว่าน้ำนมเหลือง
ระยะนมแท้
2 wk หลังคลอดไปแล้ว
สีขาวข้น
น้ำ 87% โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ วิตามิน
การคัดตึงเต้านม
มีการคั่งของเลือดและน้ำเหลือง
2-3 วันแรกหลังคลอด
น้ำนมขังอยู่เต็มแอลวิโอไล
หลัง 4 วัน
ปกติหายไปใน 24-48 ชม
อาการ
หนักเต้านม
คัดตึงมาก
แข็งตึงและร้อน
ผิวหนังมีสีแดงเป็นมัน
มองเห็นหลอดเลือดชัดเจน
หัวนมหดสั้นลง
ลานนมแข็ง
เจ็บปวดมาก
ต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนรก
ลดลงใน 24 ชม
ตรวจหา HCS ไม่พบ
ปลายสัปดาห์แรกหลังคอลด HCG ลดลง
เอสโตรเจน โปรเจสเตอโรนลดลง
ลดทันทีหลังคลอด
ลดสูงสุด 7 วัน
ผลิตโปรเจสเตอโรนใหม่เมื่อตกไข่ครั้งแรกหลังคลอด
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยจนเองโพรแลคตินจะลดลงเท่าก่อนตั้งครรภ์ใน 2 wk
ให้นมบุตรโพรแลคตินสูงขึ้น
ค่าโปรแลคตินปกติประมาณเดือน 6 ถ่าดูด 1-3 ครั้ง/วัน
โปรแลคตินสูงกว่า 1 ปี ถ้าให้ดูดนมสม่ำเสมอ 6 ครั้ง/วัน
็ัHypothalamus, Pituitary, Ovarian function
กลับมามีประจำเดือน 7-9 สัปดาห์หลังคลอด
ตกไข่วันที่ 25 หลังคลอด
ให้ลูกดูดนมครั้งละ 15 นาที วันละ 7 ครั้ง ขึ้นไป จะเลื่อนเวลาการตกไข่
5-15 % สามารถตั้งครรภ์ใหม่โดยยังไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
หัวใจและหลอดเลือด
3-4 สัปดาห์หลังคลอดเลือดจะสู่ระดับปกติ
การไหลเวียนของเลือดระหว่างมดลูกกับรกสิ้นสุดลง
หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนของรกสิ้นสุดลง เป็นการตัดตัวกระตุ้นที่ทำให้หลอดเลือดขยาย
มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกหลอดเลือดที่สะสมระหว่างตั้งครรภ์กลับเข้าสู่หลอดเลือด
ส่วนประกอบของเลือด
blood volume ลดลงทันทีหลังคลอด 5-6 ลิตร
การไหลเวียนเลือด 2-3 วันแรก เพิ่มขึ้น 15-30 เปอร์เซนต์
3 วันแรกหลังคลอด
Hct สูงขึ้นเล็กน้อย ปกติใน 4-5 wk
WBC 20,000-25,000 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิลิตร
clotting factor สูงหลังคลอด ปกติใน 2-3 วัน
ความดันเลือดและชีพจร
ความดันโลหิตต่ำ ปกติหลังคลอด 4 วัน
Orthostatic Hypotension
ชีพจรลดลงสัปดาห์แรกหลังคลอด 50-70 ครั้ง/นาที
การหายใจ
สะดวกขึ้น
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวบวมและช้ำ
ความตึงตัวกระเพาะปัสสาวะลดลงความจุมากขึ้น ความแรงลดลง ถ่ายปัสสาวะลำบาก
กระตุ้นปัสสาวะทุก 4-6 ชม
เสี่ยงการอักเสบกระเพาะปัสสาวะ
การทำงานของไต
การทำงานของไตลดลง ปกติ4-6wk
blood uria nitrogen เพิ่มขึ้นจากการแตกตัวของใยกล้ามเนื้อมดลูก
12 ชั่วโมงหลังคลอดมารดาถ่ายปัสสาวะมาก
น้ำหนักลด
ทารก และรกคลอดลดลง 4.5-5 กิโลกรัม
สัปดาห์แรกหลังคลอดลดลง 2-4 กิโลกรัม
6 สัปดาห์หลังึลอดน้ำหนักตัวคงที่เหมือนก่อนตั้งครรภ์
ระบบทางเดินอาหาร
กระหายน้ำ อายากอาหารมาก 2-3 วันแรก
ท้องผูก
จากโปรเจสเตอโรน
กลัวเจ็บแผล
ได้รับกาสวนอุจจาระ
ลำไส้ทำงานได้ดีปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด
ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูกกล้ามเนื้อ
1-2 วันแรก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
แขน ขา ไหล่ คอ
ความตึงตัวกล้ามเนื้อลดลง
ฮอร์โมน relaxin
ข้อต่อร่างกายยืดขยาย
การเคลื่อนไหวข้อต่อมากเกินไป
กระดูกสันหลังแอ่น
กระดูกเชิงกรานรับน้ำหนักมากขึ้นหลังคลอด
2-3 วันแรกฮอรโมนรีแลกซินลดลง
ปวดบริเวณสะโพก และข้อต่อ
ข้อต่อแข็งแรงปกติใน 6-8 wk
ระบบผิวหนัง
chloasma gravidarum หายไป
linea nigra, Striae gravidurum สีจางเป็นสีเงิน
Palmar erythema ลดลง
ขับน้ำออกทางผิวหนังจำนวนมาก
อุณหภูมิ
Reactionary fever
ขาดน้ำ เสียพลังงาน
อุณหภูมิสูงขึ้นเล็กน้อย 37.8 ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส ลดลงปกติใน 24 hr
Milk fever
เกิดจากนมคัด
พบใน 3-4 วันหลังคลอด
อุณหภูมิสูงกว่า 38 องศาเซลเซียส จะหายใน 24 hr หรือการคัดตึงเต้านมลดลง
Febrile fever
เกิดจากการติดเชื้อในร่างกาย
อุณหภูมิสูงกว่า 38 องศาเซลเซียสติดต่อกัน 2 วันหรือมากกว่า (ไม่นับ 24 ชม แรกหลังคลอด)
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมของมารดาหลังคลอด
ความผูกพันและสัมพันธภาพ
ความผูกพัน
เริ่มทำความรู้จัก เอาใจใส่ ต้องการรู้จัก
สัมพันธภาพ
ใช้เวลานนานในการคงความรักเอาไว้
การสัมผัสของมารดา
เริ่มใช้ปลายนิ้วสัมผัสส่วนเล็กๆ
ใช้มือลูบลำตัว
โอบกอดทารกแนบชิด
การปรับตัวมารดาในระยะหลังคลอด
Taking in phase
1-2 วันแรกหลังคลอด
มุ่งที่ความสุขสบายตนเอง
ต้องการพึ่งพาผู้อื่น
ต้องการอาหารและพักผ่อน
ระยะสังเกตุลักษณะของทารก
Taking hold phase
3-10 วันหลังคลอด
สนใจตนเองน้อยลง สนใจทารกมากขึ้น
พึ่งพาตนเองมากขึ้น
กระตือรือร้นในการฟังคำแนะนำ
ควรให้มารดาทำเอง ให้กำลังใจ
Letting go phase
2 สัปดาห์หลังคลอด
ยอมรับความจริงว่าทารกได้แยกออกจากร่างกาย
ปรับตัวต่อทารกที่ต้องการการพึ่งกาและช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
ระยะ 10 วันแรกหลังคลอด
3 วันแรกหลังคลอด
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้
อาเจียน
ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ
ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากทีมพยาบาล ครอบครัว และคนใกล้ชิด
การประเมินสุขภาพของมารดาหลังคลอด
ระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
vital sign
ภาวะแทรกซ้อน
ตกเลือด
ติดเชื้อ
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชม ใน 24 ชม แรก
มดลูก
สังเกตการหดตัวของมดลูก
คลึงยอดมลูกทันทีจนกว่าจะหดรัดตัวดี
ครบ 24 ชมแล้วควรวัดขนาดความสูงยอดมดลูก
แผลฝีเย็บและน้ำคาวปลา
สังเกตฝีเย็บและอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
หลังคลอดทันทีวางถุงน้ำแข็งไว้ที่บริเวณฝีเย็บ
การใช้ความร้อนอบ 20-30 นาที บรรเทาอาการไม่สุขสบายได้มาก
REEDA
Redness
edema
ecchymosis
discharge
approximation
12-24 ชม แผลฝีเย็บอาจบวมเล็กน้อย หลัง24ชม ยังบวมอยู่แต่ขอบแผลเริ่มติด
1-3วันแรกน้ำคาวปลาเป็นสีแดงเข้มคลายประจำเดือน หลัง 3 วัน เลือดจางลงเป็นสีชมพู
เต้านมและหัวนม
คลำเต้านมตรวจดูความความร้อน อาการบวม
ตรวจดูหัวนมแตก บุ๋ม
แนะนำมารดาระวังไม่ให้คราบน้ำนมเกาะติดที่หัวนม
คัดตึงประคบด้วยร้อนสลับเย็น
สวมเสื้อยกทรงพยุง
แนะนำทารกดูสลับข้าง
การขับถ่าบปัสสาวะ
กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ 12-24 ชั่วโมง
หลังคลอดถ่ายปัสสาวะ 300-500 มล
กระตุ้น 6-8 ชั่วโมงหลังคลอด
การพยาบาลมารดาในระยะ 24 ชั่วโมแรกหลังคลอด
ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
หลังคลอดมารดาจะรู้สึเพลีย
สูญเสียพลังงานในระยะคลอด
จัดสิ่งแวดล้อมส่งเสริมการพักผ่อน
ดื่มน้ำอุ่นหรือเครื่องดิ่มอุ่นๆ
ส่งเสริมความสุขสบายและบรรเทาอาการปวด
ขณะปวดฝีเย็บแนะนำนอนตะแคง ขมิบก้นก่อนนั่ง
วางห่อน้ำแข็งบริเวณฝีเย็บ
แนะนำให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น 2-3 ครั้ง/วัน
ให้ยาระงับปวดก่อนให้นมบุตร อาจปวดมดลูก
ส่งเสริมการลุกจากเตียงเร็ว
ครรภ์แรกเริ่มลุกเมื่อครบ 24 ชม
ครรภ์หลังเริ่มลุกจากเตียงเมื่อครบ 12 ชั่วโมง
ส่งเสริมภาวะโภชนาการและการขับถ่าย
ร่างกายต้องการโปรตีน วิตามิน เกลือแร่
มารดาให้นมบุตรเพิ่ม 200 กิโลแคล
ดูแลให้ได้รับน้ำและอาหาร
มารดามไม่ถ่าย 3-4 วันหลังคลอด ควรเหน็บ หรือสวน
การบริหารร่างกาย
เริ่มหลังคลอด 24 ชม
ทำกิจกรรมทุกวัน เป็นเวลาหลายเดือน
ไม่ควรหักโหม
ส่งเสริมความสำเร็จการให้นมบุตร
ก่อนให้นมบุตรเตรียมมารดาถ่ายปัสสาวะ ล้างมือ นั่งอยู่ในท่าสบาย
สำหรับมารดาเอาทารกออกทางหน้าท้องให้นอนตะแคงเอาหมอนสอดหว่างขา ใช้ผ้าขนหนูหนุนหลังทารก พยาบาลช่วยดูแลให้เด็กเรอ
ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของมารดาและส่งเสริมสัมพันธภาพ
พยาบาบช่วยปลอบโดยนให้กำลังใจในระยะ taking in phase
สอนให้มารดาลงมือทำเอง ส่งเสริมให้มีความมั่นใจ
หลังคลอดควรให้มารดา บิดา และบุตรอยู่ด้วยกัน
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังจาก 24 ชั่วโมงหลังคลอด และคำแนะนำก่อนกลับบ้าน
การพักผ่อนและการทำงาน
ควรนอนพักกลางวัน 1-2 ครั้ง
ควรมีเวลาได้ผ่อนคลายอารมณ์ในระยะ 2 สัปดาห์แรก
ไม่ควรขึ้นบันไดสูงๆ
ทำงานบ้านเบาๆได้
ไม่ควรยกของหนักหรืองานที่ต้องออกแรงเบ่ง
หลัง 6 wk ทำงานได้เหมือนเดิม
อาหาร
เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาควรรับประทาน
เนื้อสัตว์
ไข่
นมสด
ผักทุกชนิด
ผลไม้
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
อาหารที่ควรงด
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ยาดองเหล้า
งดอาหารหมักดอก
ชา
กาแฟ
ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
การให้บุตรดูดนมมารดาและการทำงาน
บีบน้ำนมใส่ขวดแช่ในช่องแข็ง
ระหว่างพักเวลางานควรบีบน้ำนมออก
น้ำนมที่บีบควรแช่ตู้เย็นภายใน 48 ชั่วโมง
การทำความสะอาด
อาบน้ำวันละ 2 ครั้ง
ไม่ควรแช่อาบ หรืออาบในแม่น้ำ
อวันวะสืบพันธ์ภายนอกควรล้างด้วยสบู่และน้ำสะอาด
ล้างทุกครั้งหลังอุจจาระ ปัสสาวะ ซับให้แห้ง
ถ้ายังมีน้ำคาวปลาอยู่ให้หมั่นเปลี่ยยนผ้าอนามัยบ่อยๆ
การร่วมเพศ
สอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอด 2 นิ้ว ถ้าไม่เจ็บแสดงว่าใีเย็บหายดีแล้ว
แนะนำให้งดเพศสัมพันธ์จนกว่าจะได้ตรวจหลังคลอด 6 สัปดาห์ไปแล้ว
ให้บุตรดูดนมก่อนมีเพศสัมพันธ์
ช่องคลอดแห้งควรใช้สารหล่อลื่น
อาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาล
มีไข้ เจ็บน้อง กดเจ็บ แดง
น้ำคาวปลาแดงไม่จางลง
มีเลือดสดออกจาช่องคลอดมาก
น้ไคาวปลามีกลิ่นเหม็น
หลังคลอด 2 สัปดาห์ยังคลำก้อนหน้าท้องได้
เต้านมอักเสบ กดเจ็บ แดง
ถ่ายปัสสาวะบ่อย แสบ