Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะตั้งครรภ์ image - Coggle Diagram
ระยะตั้งครรภ์
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
การซักประวัติ
การขาดระดู
การใช้ยาคุมกำเนิด
การมีเพศสัมพันธ์
ลักษณะปริมาณของระดู
ประจำเดือครั้งสุดท้าย
อาการของการตั้งครรภ์
คลื่นไส้
พะอืดพะอม
อาเจียน
อ่อนเพลีย
ปัสสาวะบ่อย
ท้องผูก
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม
ครรภ์แรกรู้สึกตึงกดเจ็บ
การรู้สึกเด็กดิ้น
ครรภ์แรก 18-20 wk
ครรภ์หลัง 16-18 wk
การตรวจร่างกายและตรวจภายใน
การเปลี่ยนแปลงที่เต้านม
ใหญ่และตึงขึ้น
รอบเต้านมสีคล้ำขึ้น
Montgomery tubercles นูนขึ้น
ครรภ์ > 3-4 เดือนบีบหัวนมได้น้ำนมเหลือง
การเปลี่ยนแปลงที่อวัยวะสืบพันธ์ุ
Chadwick's sign
vulva และช่องคลอดมีสีคล้ำขึ้น (bluish discoloration)
Goodell's sign
ปากมดลูกนุ่มเหมือนริมฝีปาก
Hegar's sign
คอมดลูกใหญ่ หนา นุ่ม
พบ wk ที่ 6-8
McDonald's's sign
มดลูกยืดหยุ่นได้มาก
มดลูกหักพับงอกับปากมดลูกได้ง่าย
พบเมื่อครรภ์ 7-8 wk
Von fernwald's sign
มดลูกบรอเวณเหนือตำแหน่งการฝังตัวจะนุ่มลลง
คลำมดลูกได้ขรุขระไม่สม่ำเสมอ
การตรวจทางห้องฎิบัติการ
ตรวจหาฮอร์โมน Human Chrorionic Gonadotropin (HCG)
การตรวจปัสสาวะ
ปัสสาวะตื่นนอนครั้งแรก
ตรวจ 4-7 วันหลังขาดประจำเดือน
การตรวจเลือด
ตรวจได้ 7-9 วันหลังปฎิสนธิ
อาการและการแสดงของการตั้งครรภ์
Positive sign
ตรวจพบการเต้นของหัวใจทารก
stethoscope
ครรภ์ 17-19 wk
เสียงหัวใจทารก 120-160 ครั้ง/นาที
มี 2 เสียง
ultrasonnic dopper
ครรภ์ 10-12 wk
Ultrasound
ตั้งครรภ์ > 2 เดือน
ตรวจพบการเคลื่อนไหวของทารกโดยแพทย์
ตรวจพบทารกโดยภาพทางรังสีหรือคลื่นความถี่สูง
พบเงากระดูกทารก
ครรภ์ > 16 wk
พบ Gestational sac
ครรภ์ 5-6 wk
พบตัวอ่อน ครรภ์ 8 wk
พบทรวงอก ศีรษะ ครรภ์ 14 wk
Probable sign
Abdominal enlargement
ครรภ์ 12 wk มดลูกเหนือหัวหน่าว
ครรภ์หลังเห็ไนด้ชัดกว่าครรภ์แรก
การเปลี่ยนแปลงขนาด รูปร่าง ความนุ่มของมดลูก
Von fernwald's sign
McDonald's's sign
Goodell's sign
Hegar's sign
Chadwick's sign
ฺBraxton hicks contraction
มดลูกหดตัวเป็นครั้งคราวไม่สม่ำเสมอ
Ballottment
Outlining
คลำได้ขอบของทารก
22 wk
ผลการทดสอบทางฮอร์โมนให้ผลบบวก
พบ HCG
Presumptive sign
อาการแพ้ท้อง
คลื่นไส้ อาเจียน
พะอืดพะอมตอนเย็นมากกว่าเช้า
ไม่อยากรับประทานอาหาร
น้ำหนักลด
6-12 wk
ปัสสาวะบ่อย
ไตรมาสแรก
มดลูกนาดใหญ่กดเบียดกระเพาะปัสสาวะทำให้ปัสสาวะบ่อย
ไตรมาสสอง
อาการดีขึ้น มดลูกโตขึ้นสู่ช่องท้อง
ระยะใกล้คลอด
ปัสสาวะบ่อย
อ่อนแพลีย
รู้สึกเด็กดิ้น
ขาดประจำเดือน
ประจำเดือนนน้อยกว่าปกติดอาจเป็น implantation bleeding
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม
areola กว้างและสีคล้ำ
subaceous gland โตขึ้น
เต้านมใหญ่ คัดตึง
ผิวหนังมีเม็ดสีเพิ่มขึ้น
Abdominal striae
chloasma
the mask of pregnancy
linea nigra
การคาดคะเนอายุครรภ์และกำหนดคลอด
Quickening
จากทารกดิ้น
ครรภ์แรกดิ้น 18-20 wk
ครรภ์สองดิ้น 16-18 wk
คิด EDC จากบวกวันลูกดิ้นให้ครบ 40 wk
ครรภ์แรกบวก 20-22 wk
ครรภ์สองบวก 22-24 wk
Naegele's rule
จาก LMP+9เดือน+7วัน = EDC
EDC เป็น wk อายุครรภ์ครบกำหนดคือ 40+- 2 wk
ถ้าเกิน 42 เกินกำหนด
ถ้าก่อน 37 ก่อนหำหนด
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตสังคมของการตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงร่างกายระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ
ช่องคลอด
Lactobacillus acidophilus เพิ่มขึ้น
สารน้ำในช่องคลอดเป็นกรด pH 3.5-6
ป้องกันการแบ่งตัวของแบคทีเรียที่เป็นเชื้อโรค
ปากมดลูก
Mucous plug
มูกเหนียวปิดกั้นไม่ให้โพรงมดลูกติดต่อกับภายนอก
มดลูก
ลูกแพร์ > กลม > รูปไข่
10 wk มดลูกโตเป็น 2 เท่าก่อนการตั้งครรภ์
ปลาย 12 wk มดลูโตพ้นขอบเชิงกราน
มดลูกขยายใหญ่ขึ้น+estrogen
คัดจมูก มีเลือดกำเดาไหลออกทางจมูก epistaxis
ระบบไหลเวียนภายในมดลูก
อายุครรภ์ครบกำหนดเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงมดลูก 500-700 มิลลิลิตร/นาที
นอนหงายมดลูกทับ inferior venacava และ aorta
supine hypotension syndrome
เส้นเอ็น
มดลูกหดรัดตัวเส้นเอ็นจะหดรัดตัวทำให้ปวด
round ligament pain
อวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก
มีสีคล้ำขึ้น
ฝีเย็บยืดขยายกว้างขึ้น
การเปลี่ยนแปลงร่างกายระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
หัวใจ
ขยายใหญ่ขึ้น
ตำแหน่งหัวใจยกขึ้น หมุนไปทางซ้ายมากขึ้น
สูบฉีดเลือดมากขึ้น
อัตราการเต้นหัวใจขณะพักเพิ่มขึ้น
systolic murmur
Cardiac Output เพิ่มขึ้น
การไหลเวียนของเลือด
ความดันสูงในท่านั่ง
ความกันต่ำในท่านอนตะแคงซ้าย
บางรายต่ำในท่านอนหงาย
ความดันต่ำลงและต่ำสุดในไตรมาสสองหรือต้นไตรมาสสามแล้วจึงเพิ่มขึ้น
ถ้า sys เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 30 มม.ปรอท หรือ diastolic เพิ่มขึ้น 15 มม.ปรอท บ่งชี้ความดันสูงขณะตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงร่างกายระบบทางโลหิตวิทยา
Blood volume เพิ่ม 30-50 %
เพิ่มขึ้นช้าๆ ตั้งแต่ปลาายไตรมาสแรก
เพิ่มสูงสุดเมื่ออายุครรภ์ 28-32 wk
Hb มากกว่าหรือเท่ากับ 11 mg% Hct มากกว่าหรือเท่ากับ 33
Anemia in pregnancy
ได้รัยาเสริมธาตุเหล็กระยะตั้งครรภ์ทุกราย
ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดเพิ่มขึ้น factor VII, VIII, X
การเปลี่ยนแปลงร่างกายระบบหายใจ
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนทำให้ smooth muscle ช่องอกคลายตัว
Hyperventilation ศูนย์หายใจไวต่อคาร์บอนไดออกไซด์
หายใจลำบาก
การเปลี่ยนแปลงร่างกายระบบเมทาบอลิซึม
ไตรมาแรกน้ำหนักเพิ่ม 1-1.5 กิโลกรัม
ไตรมาส 2-3 น้ำหนักเพิ่ม 0.5 กิโล/wk
น้ำหนักเพิ่มตลอดการตั้งครรภ์โดยเฉลี่ย 10-12 กิโลกรัม
Insulin
ไตรมาสแรก
estrogen,progesteroneกระตุ้นให้มีการหลั่งอินซูลินเพิ่มขึ้น
Hypoglycemia
ไตรมาส 2,3
prolactin, HPL glucagon ต้านการทำงานอินซูลิน
Hyperglycemia
เผาผลาญไขมันและโปรตีนมากขึ้นเพื่อสร้างรก
ต้องการโปรตีนมากในไตรมาสสาม
ไตรมาส 2,3
ต้องการ Fe สร้างเม็ดเลือดแดงมาก
ให้ folic acid ก่อนและขณะตั้งครภ์
การเปลี่ยนแปลงร่างกายระบบทางเดินอาหาร
เหงือกบวมเกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจน
ตดเหม็น
โปรเจสเตอรโรนทำให้กล้ามเนื้อเรียบในระบบทางเดินอาหารคลายตัว
heart burn
นอนตะแคงซ้าย
ท้องอืด
ท้องผูก
โปรเจสเตอโรนทำให้ถุงน้ำดีค้าง สะสม
คันที่ผิวหนัง
การเปลี่ยนแปลงร่างกายระบบทางเดินปัสสาวะ
ไตโตขึ้น
กรวยไตหย่อน
ท่อไตยาว คดงอ เคลื่อนไหวช้า
กระเพาะปัสสาวะตึงตัวลดลง ติดเชื้อง่าย
Pyelonephritis
๊UTI
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและสังคม
ไตรมาสที่ 1
Ambivalence, Uncertainty
mood swing
grief
fear
ไม่อยากมีเพศสัมพันธ์
ภาพลักษณ์ไม่เหมือนเดิม
ไตรมาสที่ 2
ยอมรับการตั้งครรภ์
มีความสุข
ปรับตัวสู่บทบาทการเป็นแม่
มีอารมณ์ทางเพศมาก
ไตรมาสที่ 3
อยากอยู่คนเดียว
เหงา
กังวล
กลัว
กังวลภาพลักษณ์
ไม่อยากมีเพศสัมพันธ์
เตรียมตัวคลอด
การฝากครรภ์
ไตรมาสแรก
ครั้งที่ 1 > 12 wk
ไตรมาสสอง
ครั้งที่ 2 = 20 wk
ครั้งที่ 3 = 26 wk
ไตรมาสสาม
ครั้งที่ 4 = 30 wk
ครั้งที่ 5 = 34 wk
ครั้งที่ 6 = 36 wk
ครั้งที่ 7 = 38 wk
ครั้งที่ 8 = 40 wk
คลอดภายใน 41 week
คำนวณอายุครรภ์ โดยอาศัยระดับของมดลูก
12 wk = 1/3 > Symphysis Pubic
16 wk = 2/3 > SP
20 wk = ambilical
24 wk = 1/4 > ambilical
28 wk = 2/4 > ambilical
32 wk = 3/4 > ambilical
การตรวจเต้านม
ลักษณะของหัวนม
แบนบุ๋ม
Hoffman's maneuver
การตรวจเลือด
ตรวจความเข้มข้นของเลือด
Anemia
Hct 33 %
Hb <= 11 g/dl
ขาดเหล็กกินยาก็หาย
VDRL
ตรวจซ้ำ 3 เดือน
Reactive ส่งตรวจ TPHA เพื่อหาเชื้อ syphilis
HIV
negative ตรวจซ้ำอีก 3 เดือน
การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฎิบัติตนในขณะตั้งครรภ์
อาหาร
ควรได้รับ 2,500 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
ลดแป้งและน้ำตาล เพราะทำให้ท้องอืด
ไตรมาสสามเพิ่มคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน
โปรตีนเพิ่ม 60-70 กรัม/วัน
โปรตีนสูง 3-4 เดือนก่อนคลอด
ต้องบริโภคไขมัน
ไขมันที่ดี DHA, EPA หรือ ไขมันอิ่มตัวเชิงซ้อนโอเมก้า 3
วิตามิน A ไตรมาสสาม
วิตามินซี ไตรมาสสาม ช่วยดูดซึมเหล็ก
วิตามินดี ดูดซึมแคลเซียมจากอาหาร
ไข่
เนื้อสัตว์
ปลาบางชนิด
ธาตุเหล็ก 30-60 mg/day
ไอโอดีน
ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก
ขาดรุนแรงอาจทำให้ทารกตายในครรภ์ แท้ง พิการ แคระแกร็น
การพักผ่อน
ไตรมาสแรก
นอนมากกว่าปกติ แต่จะหลับไม่ลึก
Insomnia
ไตรมาสสอง
sleepiness
การนอนอาจกลับสู่ภาวะปกติ
ไตรมาสสาม
fatigue
นอนหลับไม่ค่อยลึก และตื่นบ่อย
บางรายพบนอนไม่หลับ
นอนกลางคืน 8-10 ชม พักในเวลากลางวันครึ่งถึง 1 ชั่วโมง
ควรนอนตะแคงซ้าย
การพักผ่อน เลือกจากขาไหลย้อนกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีขึ้น
นอนตะแคงศีรษะสูง side lying position และหนุนหมอน 2 ใบ
การออกกำลังกาย
pelvic tilt
บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง
Pelvic rocking
Kegel exercise
เกร็งกล้ามเนื้อช่องคลอดแล้วนับ 1-10 แล้วคลายกล้ามเนื้อ
Tailor stretching
Leg exercise
ช่วยให้ระบบหมุนเวียนเลือดส่วนล่างดีขึ้น
Rib cage
Calf stretching
ช่วยป้องกันการเกิดตระคริวที่ขา และน่อง
บรรเทาอาการเส้นเลลือดขอด
คำแนะนำในการออกกำลังกาย
ควรปรึกษาสูติแพทย์ที่ดูแลก่อนออกกำลังกาย
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหักโหม
ออกกำลังกายเป็ช่วงๆ ไม่ออกกำลังกายติดต่อกันเป็นระยะเวลานานเกิน นาที
ห้ามออกกำกายในที่อากาศร้อน หรือ ร้อนซื้น
วัคซีน
วัคซีนป้องกันบาดทะยักและคอตีบ
เข็ม 1 เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
เข็ม 2 ห่างจากเข็มแรก 1 เดือน
เข็ม 3 ห่างจากเข็มสอง 6 เดือน
มีภูมิคุ้มกันอีก 5 ปี
พัฒนกิจของการตั้งครรภ์ของ Clark and Harris
พัฒนกิจขั้นที่ 1
การสร้างความมั่นใจและยอมรับการตั้งครรภ์
พัฒนกิจขั้นที่ 2
การมีตัวตนของบุตร และรับรู้ว่าบุตรในครรภ์เป็นส่วนหนึ่งของตน
พัฒนกิจขั้นที่ 3
การยอมรับว่าทารกเป็นบุคคลหนึ่งที่มีบุคลิกภาพแตกต่างไปจากตน
พัฒนกิจขั้นที่ 4
การเปลี่ยนบทบาทการเป็นมารดา