Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คลอดปกติ - Coggle Diagram
คลอดปกติ
กลไกลการคลอด
-
-
-
6.Restitution
การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอดเพื่อให้
สัมพันธ์กับส่วนที่อยู่ภายในช่องคลอด
ให้อยู่ในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ
-
7.External rotation
การหมุนของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอดเป็นการหมุนตาม
การหมุนภายในของไหล่ เพื่อให้ศีรษะและไหล่ตั้งฉากกันตามธรรมชาติ
1.Engagement
การที่ส่วนนำที่กว้างที่สุด ผ่านเข้าสู่ช่องเขิงกรานโดย
sagittal suture อยู่ในแนวขวาง หรือเฉียง
-
องค์ประกอบการคลอด
-
-
-
5.Physical condition
ทางกาย เช่น อ่อนเพลีย หมดแรง ขาดน้ำ โรคประจำตัวต่างๆ เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
-
-
-
การดูแลในระยะต่างๆ
การดูแลในระยะที่2
-ตรวจสอบแรงเบ่งและการหดรัดตัวของมดลูก
-การเบ่งต้องสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
-สอนวิธีเบ่ง
-ฟังเสียงหัวใจเด็ก
-สังเกตุการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การดูแลในระยะที่3
-ป้องกันการตกเลือดโดยห้ามคลึงมดลูกก่อนที่จะมีการลอกตัวของรกสมบูรณ์
-ตรวจดูกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
-ติดตามสัญญาณชีพ
-ตรวจสอบกทรงอกตัวของรก
การดูแลในระยะที่1
-ตรวจสอบการหดรัดตัวบองมดลูก
-ฟังFHSทุก1-2ชม
-ติดตามการเคลื่อนต่ำของทารก
-การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารย่อยง่ายครั้งละน้อยๆ
การดูแลในระยะที่4
-ประเมินการเสียเลือดจากการคลอด
-คลึงมดลูก
-หมั่นตรวจดูกระเพาะปัสสาวะ
-ตรวจสัญญาณชีพ
-ตรวจดูฝีเย็บต้องไม่บวม ไม่มีHematoma
-ดูแลความสุขสบายและพักผ่อนให้เพียงพอ
การเปลี่ยนแปลงในระยะคลอด
การเตือนด้านร่างกาย
2.การหดรัดตัวจองมดลูก
-เริ่มหดรัดตัวเป็นระยะ
-กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนสั้นลง
-ดึงรั้งกล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างให้ยืดยาวออกมา
-
1.การเตือนล่วงหน้า
-อาการท้องลด(Lightening
-ความนุ่นของปากมดลูก
-ปวดหลังและบั้นเอว
-น้ำหนักลด
-ถุงน้ำทูนหัวแตก
-มีสารคัดหลั่ง
-
การเจ็บครรภ์
เจ็บครรภ์เตือน
-มดลูกหดรัดตัวน้อย ห่างมากไม่สม่ำเสมอ
-เริ่มเจ็บเฉพาะบริเวณหน้าท้อง
-อาการเจ็บหายไปเมื่อเปลี่ยนท่าหรือเดิน
-ไม่มีการเปิดขยายของปากมดลูก
-อาการเจ็บหายไปเมื่อได้รับยาบรรเทาปวด
-ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของทารก
เจ็บครรภ์จริง
-มดลูกหดรัดตัวทุก10-15นาทีและถี่ขึ้นเรื่อยๆ
-เริ่มเจ็บบริเวณหลังส่วนล่างบั้นเอวร้าวไปที่หน้าท้องและหน้าขา
-อาการเจ็บไม่หายเมื่อนอนพัก
-มีผลต่อการเคลื่อนต่ำของทารก