Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพเเละการคำนวณปริมาณ เเละพลังงานสารอาหาร -…
ความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพเเละการคำนวณปริมาณ เเละพลังงานสารอาหาร
ชนิดและคุณค่าของสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย
วิตามิน เเบ่งเป็น 2 ชนิด
วิตามินที่ละลายในไขมัน
วิตามินเอ ช่วยในการมองเห็น โดยเฉพาะการมองเห็นในที่สลัว กระดูก ฟัน
วิตามินดี ป้องกันโรคกระดูกอ่อน ช่วยในการดูดซึมเเคลเซียมเเละฟอสฟอรัสจากลำไส้นำมาสร้างกระดูก ขาดวิตามินก่อให้เกิดโรคกระดูกพรุนเเละโรคกระดูกอ่อน
วิตามินอี สารต้านอนุมูลอินสระ ช่วยป้องกันไม่ให้วิตามินเอ วิตามินซี เเละกรดไขมันอิ่มตัวถูกออกซิไดซ์ได้ง่าย
วิตามินเค กระบวนการเเข็งตัวของเลือด ขาดวิตามินเคทำให้เกิดภาวะเลือดออกได้ง่าย
วิตามินที่ละลายในน้ำ
วิตามินบี 1 ทำหน้าที่ในกระบวนการย่อยอาหารเป็นพลังงาน ช่วยให้เกิดความอยากอาหารเเละการขับถ่ายดีขึ้น ถ้าร่างกายขาดวิตามินบี 1 จะทำให้เกิดโรคเน็บชา กล้ามเนื้อไม่มีเเรง
วิตามินบี 2 การเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต โปรตีน
เเละไขมัน ในการเจริญเติบโต ช่วยสร้างเม็ดเลือดเเดง
ถ้าร่างกายขาดจะทำให้เป็นโรคโลหิตจาง เกิดรอยเเตกที่มุมปากหรือโรคปากนกกระจอก
ไนอาซิน หรือวิตามินบี 3 ช่วยในการทำงานของระบบ
ทางเดินอาหาร ช่วยรักษาสุขภาพของผิวหนัง ลิ้น ถ้าร่างกายขาดจะทำให้เกิดโรคลิ้นเลี่ยน (pellagra) มากเกินไปทำให้น้ำตาลในเลือดสูง เป็นแผลในกระเพาะอาหาร
กรดเเพนโทเทนิก หรือวิตามินบี 5 ช่วยในการสร้างฮอร์โมน เเละโคเลสเตอรอล
วิตามินบี 6 ทำหน้าที่สร้างฮีโมโกลบิน สร้างภูมิคุ้มกัน
วิตามินบี 7 สังเคราะห์ไบโอตินได้จากเเบคทีเรียในลำไส้
โฟเลต หรือวิตามินบี 9 ช่วยในการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิก สร้างเม็ดเลือดเเดง ถ้าขาดจะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเม็ดโลหิตใหญ่
วิตามินบี 12 การทำงานของเซลล์ต่างๆโดยเฉพาะไขกระดูก ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบทางเดินอาหาร หากขาดจะทำให้ไขกระดูกผลิตเม็ดเลือดเเดงที่มีขนาดใหญ่ผิดปกติ เกิดโรคโลหิตจางเป็นพิษขนิดเพอร์นิเซียส
วิตามินซี ร่างกายต้องการเพื่อช่วยในการเจริญเติบโตเเละซ่อมเเซมเนื้อเยื่อ ถ้าร่างกายขนาดจะไม่สามารถสร้าง
คอลลาเจนได้
เกลือเเร่
เกลือเเร่ที่ร่างกายต้องการจำนวนมาก
เเคลเซียม ช่วยให้กระดูกเเละฟันเเข็งเเรง ขาดเเคลเซียมทำให้เป็นตะคริวเเละมีอาการชา ได้รับเเคลเซียมไม่พอเป็นเวลานานเป็นโรคกระดูกพรุนได้
ฟอสฟอรัส ไม่พบการขาดฟอสฟอรัสเพราะอาหารทุกชนิดมีส่วนประกอบของฟอสฟอรัส
โพเเทสเซียม ช่วยรักษาสมดุลกรดด่าง สมดุลน้ำ ขาดโพเเทสเซียมร่วมกับโรคหรืออาการอื่น เช่น ผู้ป่วยตับเเข็ง
โซเดียม รักษาสมดุลกรดด่าง ควบคุมสมดุลน้ำ ช่วยส่งสัญญาณประสาท ไม่พบการขาดโซเดียมยกเว้นท้องเสีย
คลอไรด์ รักษาสมดุลกรดด่างในเลือด ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
เเมกนีเซียม ขาดเเมกนีเซียมจะทำให้กล้ามเนื้อบิด สั่น
กำมะถัน เรียกว่าเป็นเกลือเเร่เเห่งความงาม มีส่วนช่วยในการรักษาผิว
เกลือเเร่ที่ร่างกายต้องการจำนวนน้อย
เหล็ก เป็นส่วนประกอบของเม็ดเลือดเเดง หากได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ไม่มีสมาธิ ก่อให้เกิดโรคโลหิตจางในที่สุด
ซีลีเนียม ส่งเสริมการเจริญเติบโตของร่างกาย ควบคุมสุขภาพสายตา ผิวหนัง พบในเครื่องในสัตว์ ถ้าขาดจะทำให้เป็นโรคคีชาน (keshan disease)
เเมงกานีส ช่วยในการทำงานของอินซูลิน พบได้ในอาหารทะเล หอยนางรม ไข่เเดง ถ้าขาดส่งผลเกี่ยวกับต้านทานกลูโคส เด็กมีการเจริญเติบโตช้า
โครเมียม เเหล่งที่พบโครเมียมมากที่สุด ได้เเก่ บริวเวอร์ยีสต์ การขาดโครเมียมในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
ทองเเดง ช่วยในการสร้างเนื้อหนังขึ้นใหม่ในบริเวณที่เป็นแผล เเหล่งทองเเดงที่สำคัญคือ หอยนางรม ตับ ไต
ผักใบเขียว การขาดรุนเเรงทำให้เกิดความผิดปกติของ
เม็ดเลือดแดงทำให้เกิดโลหิตจาง
สังกะสี คอยควบคุมให้กระบวนการต่างๆ ในร่างกายทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยซ่อมบำรุงเอนไซม์ รักษาเเผลให้หายเร็วขึ้น พบมากในอาหารทะเล ถ้าขาดทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำลง การเจริญเติบโตลดลง