Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรค SLE (SLE in Pregnancy) - Coggle Diagram
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรค SLE (SLE in Pregnancy)
SLE (Systemic Lupus Erythematosus) เป็นโรคแพ้ภูมิตนเอง ที่พบมากในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปัจจุบันไม่ทราบสาเหตุการเกิดโรคที่ชัดเจน สันนิษฐานว่าเกิดจากพันธุกรรม ร่วมกับสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การดำเนินโรคมีความหลากหลายในแต่ละบุคคล มีการก าเริบและสงบของโรคเป็นระยะ
กลไกการเกิดโรค
กลไกการเกิดโรคเกิดจากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน เกิดภาวะภูมิไวเกินของเม็ดเลือดขาวชนิด B lymphocyte ส่งผลให้เกิดการสร้าง autoantibodies ต้านทานเนื้อเยื่อของตนเอง ส่งผลให้เกิดการอักเสบของอวัยวะและเส้นเลือด นำไปสู่การเกิดพยาธิสภาพในหลายอวัยวะ
อาการ
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นแดงบริเวณใบหน้าบริเวณสันจมูก และโหนกแก้ม 2 ข้าง เป็นรูปคล้าย
ผีเสื้อ มีอาการอักเสบปวดบวมตามข้อ อาการซีด อ่อนเพลียจากโลหิตจาง แน่นหน้าอก ไอเป็น
เลือด หอบเหนื่อย
Case มีอาการ ไข้สูง เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามตัว เหนื่อย น้ำหนักลด
ภาวะแทรกซ้อนของทารก
จากมารดาที่เป็นโรค SLE
2.Fetal loss เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดทารกเสียชีวิตในครรภ์ทั้งในระยะแรกและระยะหลัง โดยเฉพาะในรายที่มี active SLE, lupus nephritis และ antiphospholipid syndrome มีความเสี่ยงในการเกิดทารกเสียชีวิตในครรภ์ได้ตั้งแต่อายุครรภ์10สัปดาห์เป็นต้นไป
1.Fetal growth restriction 10-30%ของหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นSLE มีโอกาสเกิดภาวะทารกโตช้าในครรภ์
และทารกน ้าหนักตัวน้อยได้โดยเฉพาะในรายที่มี active SLE, lupus nephritis และ hypertension
3.Neonatal lupus โดยจะมีอาการแสดงออกได้แก่ - อาการทางผิวหนัง จะเป็นผื่นแดงรูปวงกลมหรือวงรีบริเวณใบหน้า หนังศีรษะ และลำตัว โดยปกติจะพบบ่อยช่วง6 สัปดาห์หลังคลอด และจะหายเองหรือเหลือเป็นแผลเป็นเล็กน้อย ไม่เป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงพบ30-40% ของทารกที่มีภาวะlupus ในทารกแรกเกิด - ภาวะ thrombocytopenia พบ 5-10% ภาวะนี้จะกลับสู่ภาวะปกติได้เอง
4.Congenital heart block อาการทางหัวใจ จะพบลักษณะของหัวใจที่มีจังหวะเต้นผิดปกติจากความผิดปกติของการนำกระแสไฟฟ้าของหัวใจ ที่พบบ่อยจะเป็น first-degree congenital heart block, seconddegree congenital heart block และ third-degree congenital heart block อาการอื่นที่พบน้อย แต่อันตรายต่อชีวิตมากกว่า ได้แก่ endocardial fibroelastosis และโรคกล้ามเนื้อหัวใจ (dilated cardiomyopathy) อาการทางหัวใจพบได้2% แต่พบว่าจะเกิดซ้ำได้ในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป 12-17%
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา ได้แก่
PIH, preeclampsia, eclampsia, HELLP
syndrome
. Preterm delivery
การรักษา SLE
5.NSAID : arthralgia or serositis การให้ระยะเวลานานอาจทำให้เกิดภาวะ oligohydramnios หรือ ductus arteriosus closure
6.ASA I : prevent preeclampsia
4.Prednisolone : 1-2 mg/kg/day orally
7.Immunosuppressive drug เช่น Azathioprine
9.Avoid teratogenic drug เช่น mycophenolate mofetil, methotrexate and cyclophosphamide
3.Cyclophosphamide พิจารณาให้เมื่อ โรครุนแรงมาก โดยให้ช่วงอายุครรภ์เข้า ไตรมาส 2-3
2.Antimalarials drug (hydroxychloroquine) : ช่วยลดภาวะ dermatitis, arthritis, fatigue หากหยุดการรักษา อาจทำให้ โรค
กลับมารุนแรงได้
1.High dose glucocorticoid (methylprednisolone) กรณีโรครุนแรงมาก dose 1000 mg iv over 90 min daily for 3 days then
maintenance doses
8.Antihypertensive drug in pregnancy : Calcium channel blockers, alpha methyldopa, or labeterol
Case
1.Prednisolone(5) 1 เม็ด pc เช้า วันเว้นวัน
มีฤทธฺ์ลดกระบวนการสร้างสารในกระบวนการอักเสบ ได้แก่ Prostraglandin และLeukotriene จึงช่วยบรรเทาอาการอักเสบได้และนอกจากนี้ยังมีกลไกที่ช่วยลดความรุนแรงของโรคทางระบบภูมิคุ้มกัน ผลข้างเคียง มีอาการนอนไม่หลับ อารมณ์แปรปรวนมีสิวขึ้น ผิวแห้ง มีรอยช้ำที่ผิว บาดแผลหายช้ามีอาการคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องอืดปวดหัว เวียนหัว
ยากลุ่ม corticosteroid
2.Hydroxychloroquine (200) 1x1 oral pc เช้า
ยากลุ่ม Antimalarial drugs เป็นยาที่ใช้รักษามาลาเรียแต่เดิม แต่มีการวิจัยพบว่ายากลุ่มนี้สามารถลดอาการของ SLE ได้ และยังช่วยป้องกันการกำเริบของโรค แต่ยากลุ่มนี้ก็มีผลข้างเคียงที่อาจจะทำให้มีปัญหาของการมองเห็น และมีกล้ามเนื้ออ่อนแรงได้
3.Chalkcap (1000) 1x1 pc เช้า
กลุ่ม แคลเซียมคาร์บอเนต (calcium
carbonate) เป็นยาเสริมในการป้องกันและรักษาโรคกระดูกพรุนเป็นอาหารเสริมเมื่อได้รับแคลเซียมในปริมาณที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุหญิงตั้งครรภ์ และให้นมบุตร และใช้เป็นตัวจับฟอสเฟตในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง ผลข้างเคียงจากการใช้แคลเซียม คลื่นไส้ ท้องอืด ท้องเฟ้อ และท้องผูก ร้อนวูบวาบตามใบหน้าหรือผิวหนัง