Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Polyhydramnios & Oligohydramnios :, นางสาวพิมพ์ชนก เตรียมวงษ์ …
Polyhydramnios
& Oligohydramnios :
Polyhydramnios
polyhydramnios
การตั้งครรภ์ที่มีปริมาณมากกว่า 2,000 มิลลิลิตร
หรือ การตรวจsingle deepest pocket (SDP) มากกว่าหรือเท่ากับ 8 cm
หรือมีค่าamniotic Fluid index (AFI) มากกว่าหรือเท่ากับ 25 cm
สาเหตุ
ทารก
ความพิการของระบบประสาทส่วนกลาง เช่น anencephaly,spina bifida
• การอุดกั้นของทางเดินอาหาร เช่น esophageal atresia ,cleft lip cleft palate diaphragmatic hernia เป็นต้น
• ความผิดปกติอื่นๆ เช่น trisomy 18, ทารกบวมน้า (hydrops fetalis)
มารดา
เบาหวาน
การตั้งครรภ์แฝด
ประเภท
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Chronic hydramnios คือ ปริมาณน้าคร้าจะค่อยๆเพิมขึน
acute hydramnios คือ ปริมาณน้าคร้าจะเพิมขึนอย่าง รวดเร็วภายใน 2-3 วัน
แบ่งความรุนแรง
Mild hydramnios มีค่า deep pocket 8-11 เซนติเมตร
Moderatehydramniosมีค่าdeeppocket12-15เซนติเมตร
Severehydramniosมีค่าdeeppocketมากกว่าหรือเท่ากับ16 เซนติเมตร
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีขนาดโตกว่าอายุครรภ์
• 2. ทารกมีส่วนน้าผิดปกติหรืออยู่ในท่าผิดปกติ
• 3.คลำส่วนของทารกได้ยากและฟังเสียงหัวใจทารกไม่ชัดเจน • 4.เกิดความไม่สุขสบายแน่นอึดอัดท้อง
• 5.หายใจล้าบากนอนราบไม่ได้
• 6.มีอาการบวมของขาและอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก
• 7. ปัสสาวะออกน้อย
ผลกระทบ
มารดา
ระยะตั้งครรภ์ : เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด สายสะดือพลัดต่ำ ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด สายสะดือพันคอ ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ระยะคลอด : มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ส่งผลให้การคลอดล่าช้า
ระยะหลังคลอด : ตกเลือดหลังคลอด
ทารก
• ทารกเสียชีวิตในครรภ์
• ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดก่อนกำหนด
การรักษา
• 1. กรณีอาการไม่รุนแรงไม่จำเป็นต้องให้การรักษา แต่จะต้องมีการ ติดตามความรุนแรงโดยการ ultrasound ทุก 3-4 สัปดาห์
• 2.กรณีมีอาการหายใจลำบากแน่นอึดอัดมากต้องรับการรักษาให้ นอนโรงพยาบาล และทำการเจาะน้ำคร่ำออกทางหน้าท้อง (amniocentesis) โดยเอาน้ำคร่ำออกครั้งละ 1,500-2,000มิลลิลิตร
• 3. รักษาโดยให้ยา indomethacin ซึงมีฤทธิ์ทำให้การดูดซึมของน้ำที่ปอดทารกเพิมขึ้นการผลิตน้ำที่ปอดทารกลดลง การผลิตปัสสาวะ ของทารกลดลง
• 4. ระยะคลอด อาจช่วยทำการเจาะน้ำคร่ำผ่านทางหน้าท้อง และเฝ้าระวังการตกเลือดในระยะหลังคลอด
พยาธิสภาพ
เกิดจากความผิดปกติของ ปัสสาวะ การกลืน และปอด
ซึ่งจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความผิดปกติในทารก
Oligohydramnios
ภาวะทีมีปริมาณน้ำคร่ำน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร
หรือการตรวจ single deepest pocket (SDP) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 เซนติเมตร
หรือมีค่า amniotic Fluid index (AFI) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 เซนติเมตร
สาเหตุ
ด้านทารก
• ทารกมีความพิการของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น มีการ อุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะ
• มีความผิดปกติของไต เช่น renal dysplasia
• ความผิดปกติของโครโมโซมเช่นturnersyndrome
• IUGR
• ทารกแฝด
ด้านมารดา
ProlongedPROM
• Post-term
• PIH
• GDM
• การใช้ยาเช่นprotagladinsynthetaseinhibitor
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ : ประวัติถุงน้ำแตกก่อนเวลา (PROM)
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
การตรวจร่างกาย : ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์
คลำส่วนทารกได้ชัดเจน
การตรวจพิเศษ : ultrasound ค่า AFI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 หรือ single deepest pocket (SDP) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 เซนติเมตร
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับภาวะครรภ์แฝดน้ำ
แนะนำให้นอนศีรษะสูง หรือนอนตะแคงซ้าย
เน้นให้มาตรวจตามนัด
ติดตามความสูงของยอดมดลูก
แนะนำให้สังเกตการดิ้นของทารกในครรภ์
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติ เช่น อาการหายใจลำบาก
กรณีทีเจาะน้ำคร่ำทางหน้าท้องให้สังเกตภาวะแทรกซ้อน : เช่น การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด
แนะนำนอนศีรษะสูง หรือนอนตะแคงซ้าย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และ ฟัง FHS ทุก 30 นาที ถึง 1ชม.
กรณีแพทย์เจาะถุงน้ำคร่ำให้ป้องกันและสังเกตภาวะแทรกซ้อน
เช่น สายสะดือพลัดต่ำ ประเมินเสียงหัวใจทันทีทีมีการแตกของถุงน้ำคร่ำ
หากมี meconium ในน้ำคร่ำหรือ FHS ผิดปกติ ให้ผู้คลอดนอน ตะแคงซ้าย ดูแลให้ออกซิเจน
ระยะหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ปริมาณเลือดทีออกทาง ช่องคลอด
ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก 4. ประเมินร่างกายทารก
การประเมินและวินิจฉัย
• 1. การซักประวัติ : หน้าท้องโตอย่างรวดเร็ว มีอาการแน่นอึดอัด ท้อง หายใจลำบาก เคลื่อนไหวไม่สะดวก
• 2. การตรวจร่างกาย
3.การตรวจพิเศษ
ผลกระทบ
เกิดการแท้ง
• 2. ทารกเกิดภาวะ amniotic band syndrome (เยื่อพังผืดรัดติด ส่วนของร่างกายทารกกับผนัง amnion ท้าให้เกิดภาวะพิการ) เช่น แขนขาเกิด amputation , clubfoot หรือแขนขาโก่ง
• 3.เกิดภาวะpottersequences(ทารกเกิดภาวะปอดแฟบหน้าตา ผิดปกติ แขนขาหดเกร็ง ข้อสะโพกเคลือน clubfoot) ส่งผลทำให้ ทารกเสียชีวิตตั้งแต่แรกคลอด
• 4. ความเสี่ยงระยะคลอด เช่น สายสะดือถูกกด
อาการและอาการแสดง
ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ คลำส่วนของทารกได้ ชัดเจน
• สตรีตั้งครรภ์รู้สึกทารกเคลือนไหวน้อย
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง เช่น
ติดตามการเจริญเติบโตของทารกอย่างต่อเนือง
การเติมสารละลายเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ (amnioifusion)
โดยเติม ผ่านสาย intrauterine catheter
หากทารกอยู่ในภาวะอันตรายอาจพิจารณาให้คลอด
การพยาบาล
ระยะตังครรภ์
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับภาวะน้ำคร่ำน้อย
แนะนำนอนตะแคงซ้าย
แนะนำรับประทานอาหารโปรตีนสูง
แนะนำสังเกตลูกดิน
ติดตามระดับความสูงของยอดมดลูก
ระยะคลอด
แนะนำนอนพักบนเตียงในท่าตะแคงซ้าย
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินuterinecontraction,FHSทุก30นาที–1ชม.
กรณีถุงน้ำแตกให้สังเกตการมีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
หากมี meconium ในน้าคร้า FHS ผิดปกติ ควรรีบแก้ไข
หลีกเลี่ยงการใช้ยาบรรเทาปวด
รายงานกุมารแพทย์ เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพให้พร้อม
ระยะหลังคลอด
ให้การช่วยเหลือทารก ควบคุมอุณหภูมิ
ตรวจร่างการทารกอย่างละเอียด
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
อธิบายเกี่ยวกับแผนการรักษาทารก LBW
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
นางสาวพิมพ์ชนก เตรียมวงษ์
6120810012
คณะพยาบาลศาสตร์
2.1 การตรวจครรภ์ พบ มดลูกโตกว่าอายุครรภ์ ผนังหน้าท้องตึง
2.2 ตรวจร่างกายทั่วไปพบ อาการหายใจลำบาก บวม บริเวณขาและอวัยวะสืบพันธุ์