Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
multiple pregnancy การตั้งครรภ์ที่มีทารกมากกว่า 1 คน, นาย ฐานันดร บุญสนอง…
multiple pregnancy
การตั้งครรภ์ที่มีทารกมากกว่า 1 คน
Factor ที่ส่งเสริมให้เกิด
multiple pregnancy
Ethnic group
(อุบัติการณ์ในเชื้อชาติผิวดำมากกว่าเชื้อชาติอื่น)
Increase maternal age
(มารดาอายุมาก)
Family Hx. esp. maternal
(ประวัติมีในครอบครัว โดยเฉพาะฝ่ายมารดา)
Ovulation induction
(การได้รับยากระตุ้นการตกไข่หรือเทคโนโลยีเจริญพันธุ์)
ไข่ตกสองใบ --> dizygotic twins
เป็นปัจจัยที่พบมากที่สุด เพิ่มขึ้นเป็น 10 เท่าในปัจจุบัน###
ประเภทของครรภ์แฝด
Monozygotic twins
(แฝดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้)
ไข่ใบเดียวอสุจิตัวเดียวแล้วแบ่งตัวทีหลัง
1.1 Diamnionic, monozygotic twins pregnancy แบ่งตัวภายใน 72 ชม. หลังปฏิสนธิ พบ diamnion c dichorion รกทั้งสองติดกันหรือแยกกันก็ได้
1.2 Diamnionic, monochorionic, monozygotic twins pregnancyแบ่งตัว หลังจากปฏิสนธิ 4-8 วัน มี 2 amnions, 1chorion
1.3 monoamnionic, monochorionic, monozygotic twins pregnancy
แบ่งตัวหลังจากปฏิสนธิ 9-12 วัน มี 1 chorion 1 amnion 1 pacenta
อันตรายต่อทารกมากที่สุด
1.4 Siamese twins หรือ conjoined twins หรือ
แฝดสยาม
แบ่งตัวภายหลังวันที่ 13 บางส่วนติดกัน
Dizygotic twins / False twins
(แฝดต่างไข่หรือแฝดเทียม)
ไข่สองใบอสุจิสองใบ ทารกลักษณะต่างกัน
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับมารดา
ขณะตั้งครรภ์
PIH
Hyperemesis gravidarum
Abortion
Anemia
Preterm labour
Hydramnios
vanishing twins syndrome
Placenta previa
ระยะคลอด
ท่ายาก ท่าผิดแปลก (แต่ปัจจุบัน C&S กันส่วนมากแล้ว)
หลังคลอด
PPH
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับทารก
Prematurity
IUGR
Single fetal demise
Cord entanglement
Twin-Twin transfusion syndrome
(TTTS)
Dornor-Recipient
Congenital anomalies
Structural
conjoint twins
Acardiac fetus
Anenceplaly
Acardiac twins
Chromosomal
Down's syndorme
การวินิจฉัย
S/S
ขนาดครรภ์โตกว่าอายุ
นํ้าหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าครรภ์ปกติ
คลำหน้าท้องพบส่วนของทารกมากว่า 1 แห่ง
ฟังเสียงหัวใจทารกได้มากกว่า 1 ตำแหน่ง
Hx.
ครอบครัวมีแฝด,การใช้เทคโนโลยีเจริญพันธุ์
LAB
estriol,hCG,HPL สูงกว่าครรภ์ปกติ
U/S
พบตัวอ่อนมากกว่า1ตัว
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เพิ่มแคลอรี่จากครรภ์ปกติเป็น 2 เท่า
ยาเสริม 2 เท่า
นัดตรวจ GA 24 q 2 wk. และ NST ทุก wk.
U/S ทุกเดือน และนัดคลอด GA 36 wk.
ระยะคลอด
ทำคลอดโดยสูติแพทย์ (C&S)
เตรียมสารนํ้า เลือด (PPH)
ระยะหลังคลอด
ดูแลเรื่อง PPH เป็นพิเศษ
ดูแลทั่วไป เรื่องการติดเชื้อ ,การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
Ndx.
Ndx. Anemia เนื่องจากต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
Ndx. เสี่ยง Preterm เนื่องจาก twins
Ndx. เสี่ยง IUGR เนื่องจาก twins
Ndx. มีโอกาส PPH เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Ndx. อาการตามไตรมาส เช่น หายใจลำบาก อึดอัด ปวดหลัง
นาย ฐานันดร บุญสนอง 6120810004 ผดุง 2