Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1,2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1,2 ของการคลอด
การพยาบาลระยะที่1 คือ ตั้งแต่เจ็บครรภ์จริง - ปากมดลูกเปิดหมด ดูแลตั้งแต่มารดามาหาเรา "เจ็บครรภ์" --> ประเมินว่า จริง หรือ เตือน ถ้าเจ็บครรภ์จริง --> Admit obs. รอคลอด ขณะรอคลอด --> ต้องติดตามความก้าวหน้าของการคลอด , สุขภาพมารดา , ทารกในครรภ์ ประเมินองค์ประกอบการคลอด ( 5P ) นอกจากนี้ เราต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ขณะเจ็บครรภ์ มีน้ำเดิน? ต้องระวังสายสะดือถูกกดทับ
การซักประวัติ
:<3: ทางสูติศาสตร์
-อายุ , ประวัติการคลอด , ครรภ์แรก , การผ่าตัดคลอด , โรค , น้ำหนักทารก
:<3: ประวัติความเจ็บป่วย -DM , HT, G6PD , โรคหัวใจ , โรคติดต่อ
-โรคทาง Sex , TB , ไวรัสตับอักเสบ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคตับ โรคไต โรคหลอดเลือด โรคเบาหวาน กามโรค การผ่าตัดต่างๆเกี่ยวกับอวัยวะอุงเชิงกราน
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
ประวัติหลังคลอดมีภาวะแทรกซ้อนหรือไม่
ประวัติผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
ประวัติการคลอดปกติหรือไม่
ประวัติแท้งหรือขูดมดลูก
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
หากอายุเกิน 35 ปีอาจมีการคลอดล่าช้า
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์
อายุครรภ์ ครรภ์ที่เท่าไร
การตรวจร่างกาย
การดู
ดูหน้าท้องว่าใหญ่ผิดปกติหรือไม่ ถ้าใหญ่อาจมีน้ำคร่ำมากหรือเด็กตัวใหญ่หรือครรภ์แฝด
ลักษณะทั่วไปของหน้าท้อง มีหน้าท้องหย่อนหรือไม่ หรือกล้ามเนื้อหน้าท้องแยกออกจากกัน
ลักษณะของมดลูกตามขวางหรือตามยาว
สีผิวหน้าท้อง
การคลำ
1.ในระยะ Latent พิจารณาจากเริ่มเจ็บครรภ์จริงจนปากมดลูกเปิด 3 cm
2.ในระยะ Active การเปิดขยายของปากมดลูกเป็นปกติหรือไม่ ไม่ควรน้อยกว่า 1 cm/hr
3.เส้น Alert line คือ เส้นที่ลากทแยงจากเมื่อปากมดลูกเปิด 3cm ถึง 10 cm ถ้าการขยายของปากมดลูกช้าเลยเส้นalert lineไปทางขวา
4.เส้น action line คือ เส้นที่แสดงว่าปากมดลูกเปิดขยายล่าช้ามีการคลอดยาวนานผิดปกติ
5.พื้นที่ส่งต่อเป็นช่วงที่ต้องส่งต่อผู้คลอดจากสถานพยาบาลที่ไม่พร้อมไปยังสภานพยาบาลที่มีความพร้อม
การฟัง
จะฟังเสียงหัวใจทารกได้เมื่อครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป
ตรวจดูว่าทารกยังมีชีวิตอยู่หรือไม่
การเตรียมผู้คลอด
1.การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกซึ่งประกอบไปด้วยการโกนขน (shave) บริเวณหัวหน่าว รอบปากช่องคลอด ฝีเย็บและรอบๆทวารหนักแล้วล้างด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
2.การสวนอุจจาระ การสวนอุจจาระเพื่อช่วยให้ลำไส้ใหญ่ว่าง ส่งผลให้มีเนื้อที่ภายในช่องเชิงกรานมากขึ้น
3.การทำความสะอาดร่างกาย
4.การพยาบาลด้านจิตสังคม
5.การบันทึกการพยาบาลเมื่อรับใหม่ผู้คลอด
การพยาบาลในระยะเจ็บครรภ์คลอด
1.การพยาบาลด้านสุขวิทยา
1.1การรับประทานอาหาร
1.2การขับถ่าย
1.3การพักผ่อนและการนอนหลับ
1.4ท่าของผู้คลอดและการทำกิจกรรม
2.การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
2.1ให้ความรู้เกี่ยวกับการคลอด
2.2ทบทวนเทคนิคการผ่อนคลายความเจ็บปวดที่ผู้คลอดได้รับ
2.3ประคบด้วยความร้อนและความเย็น
2.4การบรรเทาปวดด้วยน้ำ
3.การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
3.1การตรวจภายนอก
3.1.1การหดรัดตัวของมดลูก duration จะนานขึ้น (ถ้ามากกว่า 90 วินาที) interval สั้น intensive แรง
3.1.2 การเคลื่อนต่ำของส่วนนำโดยพิจารณาจากตำแหน่งของ FHS เมื่อเด็กเคลื่อนต่ำลงมาเสียง FHS จะเบนเข้าหา mid line เมื่อใกล้คลอดตำแหน่ง FHS จะได้ยินเหนือตำแหน่ง Symphysis pubis พอดี
3.1.3 การเปลี่ยนแปลงของ show เมื่อใกล้คลอดปากมดลูกเปิดมากขึ้นมีการฉีกขาดของ capillaries จากการที่ chorion แยกจาก decidua vera ทำให้เลือดปนมูกเพิ่มขึ้น
3.2 การตรวจทางช่องคลอด, ทวารหนักทุก 4 ชั่วโมงใน latent phase และทุก 1-2 ชั่วโมง active phase เพื่อดู
3.2.1 fully dilatation
3.2.2 การเคลื่อนที่ต่ำของส่วนนำถ้าการคลอดก้าวหน้าส่วนนำก็จะเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อย ๆ station จะต่ำลงโดยเฉพาะในระยะท้าย ๆ ของการคลอด
3.2.3 การหมุนภายในหัวเด็กเมื่อการคลอดก้าวหน้าขึ้นส่วนนำจะเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อย ๆ แต่ส่วนนำไม่ผ่านเชิงกรานลงมาตรงๆ แต่จะมีการปรับของศีรษะเพื่อให้คลอดออกมาได้การคลอดจะก้าวหน้าพิจารณาจาก sagital suture เป็นตัวบอก
4.การควบคุมการหดรัดตัวของมดลูก
5.การประเมินสภาพของมารดาและทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
6.การพยาบาลด้านจิตสังคม
การพยาบาลผู้คลอดระยะที่ 2 ของการคลอด
( ปากมดลูกเปิดเปิดหมด ถึงทารกคลอดทั้งตัว )
การเฝ้าคลอดระยะที่ 2 ของการคลอด
1.ฟัง FHS q 5 min หรือ หลังมดลูกหดตัว ถ้า < 120 bpm = ช่วยเหลือ
2.ประเมินผู้คลอด : อาการอ่อนเพลีย , ขาดน้ำ , N/V
-ถ้า PR > 100 bpm + คลอดยาวนาน --> รายงานแพทย์
-กระเพาะปัสสาวะเต็ม --> ขัดขวางส่วนนำ/การหดรัดตัวของมดลูก
*สวนปัสสาวะ
-เจ็บหลังบริเวณsacrum/เจ็บมากสุดผิวหนังของปากช่องคลอด+ฝีเย็บ =>ดูแลนวดบริเวณ sacrum
-มดลูกหดตัว => จัดท่านอนหงาย ชันเข่า ก้มศีรษะ เพื่อคลอดง่ายขึ้น
3.ขณะดำเนินการคลอด
-ระวังมดลูกหดไม่คลายตัว (tetanic contraction) => มดลูกแตกได้
-การเจาะถุงน้ำ (กรณีถุงน้ำแตกช้า) : หลัก aseptic technique , ให้น้ำค่อยๆไหลออก
ระวังสายสะดือพลัดต่ำ , การติดเชื้อ , รกลอกตัวก่อนกำหนด , amniotic fluid embolism
-แนะนำการเบ่ง : เบ่งเพื่อมดลูกหดรัดตัว เบ่งาน 6 sec
ไม่ควรเกิน10sec -> ระวัง valsalva maneyver
การทำคลอดปกติ
1.การตัดฝีเย็บ
ลักษณะกาารหดตัว
1.Median episiotomy ( ตัดตรงกลาง )
2.Mediolateral episiotomy ( ตัดเฉียง )
3.Lateral ( ตัดเฉียง )
4.ตัดรูปตัว J shape
เวลาที่เหมาะสมในการตัดฝีเย็บ:มดลูกหดรัดตัว+ฝีเย็บตึงบางใสเป็นมัน
Median episiotomy
-มีโอกาสตัดฉีกขาดทะลุถึงหูรูดและทวารหนัก(ไม่เหมาะกับมือใหม่หัดตัด)
-แผลซ่อมแซมง่าย
-แผลน้อย
-เสียเลือดน้อยกว่า
Mediolateral episiotomy
-เหมาะกับมือใหม่
-แผลซ่อมแซมยากกว่า
-รอยแผลไม่สวย
-เสียเลือดมากกว่า
2.ช่วยคลอดศีรษะ ( ภายหลังตัดฝีเย็บ )
-มือข้างไม่ถนัด (นิ้วชี้+นิ้วกลาง) กดท้ายทอยศีรษะทารก
-มือข้างที่ถนัด ถือผ้าควบคุมฝีเย็บรวบเนื้อและผิวหนังบริเวณฝีเย็บ (safe perinuem)
-ควบคุมให้ศีรษะทารกค่อยๆออกมาจากช่องคลอด โดยส่วนนำ SOB-->OF-->OM ผ่านออกมาตามลำดับ
-เมื่อส่วนที่กว้างที่สุดของศีรษะทารกออกมา --> เปลี่ยนมือข้างี่ไม่ถนัดมาโกยศีรษะทารกที่อยู่เหนือฝีเย็บให้เงยขึ้น --> *ให้ผู้คลอดหยุดเบ่ง
-เช็ดตาด้วยสำลี , ดูดสารคัดหลั่งออกมาจากปาก + จมูก
การตรวจสายสะดือรอบคอ
-โดยใช้นิ้วสอดคลำๆรอบคอ+ประเมินไหล่มีInternal rotationเสร็จหรือยัง
สายสะดือพันคอ 1 รอบ+ไม่แน่น
ค่อยๆคลายออกดึงรูดผ่านท้ายทอยออกมาทางหน้ารก
สายสะดือพันคอแน่นมาก+พัน2รอบขึ้นไป
ใช้arterial forceps 2 อัน หนีบสายสะดือ แล้วตัดตรงกลาง
3.ช่วยคลอดไหล่
3.1 การทำคลอดไหล่หน้า : ใช้ฝ่ามือจับบริเวณขมับทั้ง 2 ข้างของทารกไว้แล้วโน้มศีรษะลงตามทิศทางของช่องเชิงกราน เมื่อเห็นไหล่ส่วนหน้าจนถึงบริเวณซอกรักแร้จึงหยุด
3.2 การทำคลอดไหล่หลัง : จากนั้นจึงยกศีรษะขึ้นในทิศทาง 45 องศากับแนวดิ่ง เมื่อไหล่ทั้งสองข้างออกมาจึงหยุด
:!:ขณะคลอดไหล่หลัง ห้ามสอดนิ้วเข้าไปดึงรักแร้หรือใต้คางทารก -> อันตรายต่อ brachial plexus => Erb-Duchenne palsy (อัมพาตแขนส่วนบน)
4.การช่วยคลอดลำตัว แขน และขา
-ดึงทารกออกมาช้าๆ ขนานกับช่องคลอด เปลี่ยนมือข้างที่จับศีรษะทารก-ด้านบนมารองรับตัวทารก
-ดูดมูกจากปาก ลำคอ และจมูก
-ดีดฝ่าเท้า และลูบหลัง+ประเมิน Apgar
5.ตัดสายสะดือ