Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Polyhydramnios and Oligohydramnios, นาย ฐานันดร บุญสนอง 6120810004 ผด. 2 -…
Polyhydramnios and Oligohydramnios
Polyhydramnios
ภาวะที่มีนํ้าครํ่า > 2000 mL , AFI > 25 , SDP > 8
Type
Chronic hydramnios
ค่อยๆเป็นไป
Acute hydramnios
เพิ่มอย่างรวดเร็วใน 2-3 วัน
แบ่งระดับรุนแรงตาม SDP
Moderate hydramnios
12-15 cm.
Severe hydramnios
16 cm. ขึ้นไป
Mild hydramnios
8-11 cm.
สาเหตุ
จากมารดา
GDM
ทำให้ทารกปัสสาวะมากขึ้นตาม
twin –twin transfusion syndrome ทารกอีกคน
macrosomia
ได้รับเลือดมาก เลือดไปไตมาก ปัสสาวะมากตาม
จากทารก
ความพิการของระบบประสาทส่วนกลาง เช่น
anencephaly,spina bifida
ควบคุมการกลืนไม่ได้
การอุดตันของทางเดินอาหาร เช่น esophageal atresia ,cleft lip
cleft palate , diaphragmatic hernia , duodenum atresia
ทำให้ทารกกลืนนํ้าครํ่าไม่ได้
ความผิดปกติอื่น ๆ เช่น trisomy 18
(กลืนนํ้าไม่ได้)
, ทารกบวมนํ้า (hydrops
fetalis)
นํ้าในตัวมากออกมาข้างนอก
S/S
มดลูกโตกว่าอายุครรภ์
ส่วนนำหรือท่าผิดปกติเนื่องจากเคลื่อนไหวได้มาก
คลำทารกได้ยาก FHS ไม่ชัดเจน
อึดอัดแน่นท้อง หายใจลำบาก กด Abdoman Aortic ทำให้ปัสสาวะออกน้อย ขาบวม
บวมบริเวณช่วงล่าง อวัยวะสืบพันธุ์ จากหลอดเลือดดำ และนํ้าเหลืองถูกกด
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ระยะคลอด
PPH
ระยะหลังคลอด
Prolong labor จากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ระยะตั้งครรภ์
PROM
Prolapsed Cord
Abruptio Placentae
Nuchal cord
ท่ารกท่าผิดปกติ
Preterm labor
ต่อทารก
เสียชีวิตในครรภ์ โดยเฉพาะในเด็กตัวโต
การรักษา
กรณี Mild hydramnios แบบ chronic
ไม่จ้าเป็นต้องให้การรักษา แต่ต้องultrasound ทุก 3-4 wk.
กรณีมีอาการหายใจลําบาก แน่นอึดอัดมากต้อง
amniocentesis เอาออกครั้งละ 1,500-2,000มิลลิลิตร
ให้ยา indomethacin ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้การดูดซึมของนํ้าที่ปอดทารกเพิ่มขึ้น ลดการผลิตนํ้าที่ปอดทารก ลดการผลิตปัสสาวะ
*
ผลข้างเคียงของยา ทำให้การเปิดของ ductuds arteriosusก่อนเวลา
อันควร
*
ระยะคลอด อาจทำ amniocentesis
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
Adv. นอนศีระสูง ตะแคงซ้ายเพื่อลดหายใจลำบากและอึดอัด
กรณีที่เจาะนํ้าครํ่าทางหน้าท้องให้สังเกตุภาวะแทรกซ้อน เช่น
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด
กรณี เจาะถุงนํ้าครํ่าต้องระวังเรื่อง prolapsed cord เป็นอย่างมาก โดยต้องค่อยๆปล่อยมือ หากคลำเจอชีพจร ต้องคามือไว้ ยกก้นสูง แล้วเข้า OR
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวัง PPH จากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Ndx. เช่น ไม่สุขสบายจากครรภ์มีนํ้าครํ่ามากและหน้าท้องขยายใหญ่
oligohydramios
ภาวะที่มีนํ้าครํ่า < 500 mL , AFI < 5 , SDP < 2
สาเหตุ
จากทารก
ทารกมีความพิการของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น มีการ
อุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะไตฝ่อทั้งสองข้าง (renal agenesis)
ครรภ์เกินกำหนด
IUGR จาก PIH
จากมารดา
Prolonged PROM ถุงนํ้าครํ่ารั่วเป็นเวลานาน
diabetes insipidus
PIH
มารดาได้รับยาบางอย่าง เช่น indomethacin, protagladin synthetase inhibitor
S/S
ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ คล้าส่วนของทารกได้
ชัดเจน
ทารกเคลื่อนไหวน้อยจากมีพื้นที่น้อย
ผลกระทบ
Abortion
ทารกเกิดภาวะ
amniotic band syndrome
เช่นแขนขาเกิด amputation , clubfoot หรือแขนขาโก่ง เนื่องจากโดนกดเบียดเป็นเวลานาน
เกิดภาวะ
potter sequences
(ทารกเกิดภาวะปอดแฟบหน้าตา ผิดปกติ แขนขาหดเกร็ง ข้อสะโพกเคลื่อน clubfoot) ส่งผลให้
ทารกเสียชีวิตตั้งแต่แรกคลอด จากการเจริญของทารกผิดปกติ
ในระยะคลอด สายสะดือจะถูกกดได้ง่าย เกิดfetal distress
การรักษา
การดูแลในไตรมาสแรก
ส่วนใหญ่ขึ้นกับสาเหตุ
ให้คำแนะนำและเฝ้าระวังภาวะแท้งเป็นหลัก ติดตามด้วย U/S โอกาสแท้งสูงหากเป็นในไตรมาสแรก
การดูแลในไตรมาสสอง
ถ้าปริมาณน้ำคร่ำน้อยไม่มากหรือต่ำกว่าปกติเพียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่พยากรณ์โรคจะดี แต่ถ้าน้อยมาก จะแท้งสูงอาจพิจารณาให้ทางเลือกยุติการตั้งครรภ์ หรือ ให้การรักษาเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำคร่ำ
เช่น การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) ผ่านสาย intrauterine catheter
การดูแลในไตรมาสสาม
ส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับภาวะแทรกซ้อน เช่น สายสะดือถูกกด รกเสื่อมสภาพ สำลักขี้เทา -- plan C&S ซะมากกว่า
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ส่วนมากตามระยะและการรักษาในแต่ละรายตามข้างต้น แต่หลักๆเพื่อให้มารดาสามารถ obs. อาการแท้งเป็นหลัก โดยการนับลูกดิ้น สังเกตุอาการผิดปกติ ติดตามระดับมดลูก
มีการศึกษาถึงการดื่มนํ้าปริมาณมากๆ สามารถเพิ่มนํ้าครํ่าได้จริง แต่ชั่วคราวและเล็กน้อย จึงยังไม่ใช้ในทาง clinical เพราะฉะนั้นในรายที่นํ้าครํ่าน้อยกว่าปกติเล็กน้อย
อาจจะ
ช่วยได้
ระยะคลอด
จะ fetal distress ได้ง่ายตามสาเหตุที่กล่าวไปข้างต้น อย่างเช่น cord ถูกกด เพราะฉะนั้นสิ่งที่จะตามมามีหลายประการอย่างเช่น เมื่อ fetal distress ทารกจะขับ meconium ออกมา ดังนั้นภาวะนํ้าครํ่าน้อยถือว่าเป็น high risk จึงต้องเตรียม resus. ให้พร้อมเสมอ
ระยะหลังคลอด
หากทารกที่คลอดออกมามีความผิดปกติ ดังนั้นในระยะหลังคลอดจะเป็นระยะที่รักษาต่อเนื่องในทารกที่ผิดปกติ การให้การพยาบาลจะตามอาการที่ทารกเป็น
Ndx. เช่น มีโอกาสเกิดการคลอดก่อนก้าหนดเนื่องจากมีนํ้าครํ่าน้อย
หน้าที่ของนํ้าครํ่า
ทำให้ทารกเคลื่อนไหวได้
ป้องกันการกระทบกระเทือน
รักษาอุณหภูมิให้คงที่
ส่งเสริม pressure ช่วยในการคลอด
อายุครรภ์ 36-38 สัปดาห์ มีนํ้าครํ่า 800 -1,200 mL
นํ้าครํ่าจะเริ่มลดหลังจาก 38 wk. ทำให้เกิด lightening
หลังจาก 42 wk. จะลดลงเรื่อยๆจนอาจพบเพียง 200-300 mL
นาย ฐานันดร บุญสนอง 6120810004 ผด. 2