Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ - Coggle…
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
Noninfectious
Osteoporosis
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้หญิงหลังจากหมดประจําเดือน
การกินอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วน
กรรมพันธุ์
น้ำหนักตัว
การวินิจฉัย
ซักประวัติความเจ็บป่วย
แนวทางการรักษา
การออกกําลังกาย
การรักษาด้วยยา
ฮอร์โมนเอสโตรเจน / แคลเซียม
วิตามินดีฟลูออไรด์
ขจัดปัจจัยเสี่ยง
กระดูกหัก (fracture)
สาเหตุของการเกิดกระดูกหัก
แรงกระทํา (force or violence)
-แรงกระทําโดยตรง
-แรงกระทําทางอ้อม
การกระตุกหรือการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่าง
แรง (sudden muscular force)
ชนิดของกระดูกหัก
1.กระดูกหักแบบปิด
2.กระดูกหักแบบเปิด
การประเมินสภาพ
ประวัติผู้ป่วย
การตรวจร่างกาย
การตรวจโดยภาพถ่ายรังสี (X-ray)
หลักการรักษากระดูกหัก 5R/6R
1.Recognition
Reduction 2.1 Closed reduction
Retention
Rehabilitation
Reconstruction
6R คือ Refer
การพยาบาล
กรณีใส่เผือก
1.1ฝึกการใช้แขนข้างปกติ
1.2ใช้ผ้าคล้องคอเพื่อพยุงเสมอ
1.4จัดท่านอน
1.5ดูแลขอบเฝือก
หลักการถ่วงนํ้าหนัก
แรงต้าน
2.แรงเสียดทาน
3.แนวการดึง
4.ความต่อเนื่อง
5.ท่าของผู้ป่วย
Bone Tumor
. benign tumor ไม่ร้ายแรง
malignant tumor ร้ายแรง
เนื้องอกกระดูกปฐมภูมิ
สาเหต
ความผิดปกติของยีน
ปัจจัยด ้านกายภาพ
ปัจจัยด้านการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อาการปวด (pain)
คลําได้ก้อน (mass)
กระดูกหักแบบมีพยาธิสภาพ (pathologic
fracture)
กระดูกผิดรูป (deformity)
ตรวจพบโดยบังเอิญ (accidental finding)
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
3.การถ่าพภาพรังสี
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่นๆ เชน
่ MRI หรือ CT-scan
6.การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ
แนวทางการรักษา
การผ่าตัด
เคมีบําบัด
3.รังสีรักษา
เนื้องอกกระดูกทุติยภูมิ
ผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งของ
อวัยวะใดอวัยวะหนึ่งอยู่แล้ว
ผู้ป่วยที่ไม่เคยมีประวัติว่าเป็นมะเร็งมาก่อน
ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ด้วยอาการต่างๆ
แนวทางการรักษา
รักษามีจุดประสงค์เพื่อบรรเทาอาการปวด
2.ฉายรังสีร่วมกับการใส่เครื่องพยุง
การพยาบาล
ให้การพยาบาลที่ครอบคุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และจิตวิญญาณ ทั้งผู้ป่วยและญาติ
รวบรวมข้อมูลผู้ป่วย เพื่อวางแผนการรักษา
ทีมสุขภาพต้องร่วมมือกันเพื่อเตรียมผู้ป่วย และครอบครัวให ้
พร้อมในการดูแลตนเอง เพื่อให ้ผู้ป่วยได ้จากไปอย่างสงบ
Amputation
ข้อบ่งชี้
อุบัติเหต
โรคทางหลอดเลือด (Vascular disease)
มีการติดเชื้อที่กระดูกหรือเนื้อเยื่อรอบๆ
เนื้องอกอาจเป็นเนื้องอกธรรมดา (benigntumor) หรือเป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรง(malignant tumor) ของกระดูก
ความพิการแต่กำเนิด
แบ่งตามตําแหน่งการทาผ่าตัด
ระยางค์ส่วนบน
การตัดใต้ข้อศอก (below elbow amputation หรือ B.E.
amputation)
การตัดเหนือข้อศอก (above elbow amputation หรือ B.E.
amputation)
การตัดผ่านข้อของกระดูก (disarticulation amputation) มีน้อย
ระยางค์ส่วนล่าง
Syme’s amputation ตัดระดับเหนือข้อเท้าเล็กน้อย
การตัดใต้ข้อเข่า (below knee amputation หรือ B.E.
amputation) คือการตัดบริเวณใต ้เข่าลงมาประมาณ 4-6 นิCว
การตัดผ่านข้อเข่า (Knee disarticulation)
การตัดเหนือเข่า (Above Knee disarticulation หรือ A.K.
amputation)
ผลกระทบต่อบุคคล
Shock and disbelief
Developing awareness of the loss
Restitution
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
ในระยะ24ชั่วโมงแรก ต้องประเมินและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดระยะแรกได้แก่การติดเชื้อ
คําแนะนําในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
1.ป้องกันการติดเชื้อที่แผล
ดูแลรูปร่างของตอขา ให ้ได ้รูปทรวงกระบอก
แนะนาให ้ผู้ป่วยที่ตัดขาหลีกเลี่ยงท่าทีไม่
ถูกต้อง
ไม้ค้ำยัน (crutches)
ไม้ค้ำยันรักแร ้ (axillary crutches)
ไม้ค้ำยันชนิดยันต่ำกว่ารักแร ้ (non-axiilary
crutches)
การฝึกเดิน
แบบ point gait
1.1 แบบ 4 – point gait
1.2 แบบ 3 – point gait
แบบ swing gait
2.1 แบบ swing - to gait
2.2 แบบ swing - through gait
ฝึกเดินด้วย walker
ปัญหาการบาดเจ็บระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่
พบได้บ่อย
ข้อแพลง (sprain)
เป็นการฉีกขาดของเส้นเอ็นหุ้มข้อ
การปฐมพยาบาลข้อเคล็ดหรือข้อแพลง
พักให้ข้อพักนิ่งๆ
ยกมือ หรือ เท้า ข้างที่เจ็บให ้สูงขึ้นกว่าปกติ
ประคบเย็นภายใน24ชั่วโมง หลังจากนั้นประคบด้วยความร้อน
พันด้วยผ้ายืด ไม่ควรแน่นเกินไป
ข้อเคล็ด (strain
)
เส้นเอ็นหรือกล้ามเนื้อถูกยึดออกหรือถูกใช้งานมากเกินไป
สาเหตุ
ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง เกิดจากการหกล้ม
ตกหลุม หรือเล่นกีฬา
อาการและอาการแสดง
ปวดข้อมาก ถ้ากดบริเวณข้อจะยิ่งปวดมากขึ้น ข้อบวมซ้ำ เคลื่อนไหวได้น้อยหรือไม่ได้ อาจมีอาการชา
การประเมินสภาพ
ตรวจร่างกายว่ามีการบวมของข้อ ขยับจะเจ็บ
ข้อเคลื่อน dislocation
สาเหตุ
เกิดจากการกระทบกระแทกหรือเกิด
อุบัติเหตุบริเวณข้อ หรือเกิดจากการเหวี่ยง
อาการและอาการแสดง
ปวด (pain, tenderness)
บวม (swelling)
สภาพวิกลรูป (deformity)
ท่าทาง (attitude)
การประเมินสภาพ
ถ่ายภาพรังสีก่อนและหลังรักษาเสมอ อย่างน้อย 2ท่า ท่าตรง และด้านข้าง
การวินิจฉัยข้อเคลื่อน
สาเหต
-ตําแหน่งที่ข้อเคลื่อนหลุดออกไป
ความรุนแรง
ความถี่บ่อยของการเคลื่อน
การรักษา
การดึงข้อกลับเข้าที่
การตรึงข้อ (immobilization)
การบริหารข้อและกล้ามเนื้อรอบข้อ
การพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ
ยกอวัยวะส่วนที่หักขึ้นสูง
ออกกำลังกายเพื่อป้องกันข้อติด
ฝึกการเดินโดยใช้เครื่องช่วยเดินที่เหมาะสม
Infectious
การอักเสบติดเชื้อที่กระดูกทุกชั้น
สาเหตุ
แบคทีเรีย
2.เชื้อรา
3.ไวรัส
4.ปรสิต
acute osteomyelitis
อาการและอาการแสดง
อาการทั่วไป
:ไข้สูง
อาการเฉพาะที่
:ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณกระดูกที่มีการติดเชื้อ
การวินิจฉัยโรค
1.ประวัติความเจ็บป่วย
2.การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การวินิจฉัยทางรังส
5.การตรวจทางรังสีนิวเคลียร
6.การตรวจทาง Computer tomography
7.การตรวจวินิจฉัยด้วยคลืUนแม่เหล็ก
การรักษาทั่วไป
ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์
การรักษาเฉพาะที่
ประคบด้วยความเย็น เพื่อบรรเทาอาการปวด
ทําผ่าตัดเอาหนองออก (incision and drain)
subacuteosteomyelitis
การรักษาทั่วไป
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก
ทำการขูดล้างโพรงกระดูก
chronic osteomyelitis
สาเหตุ
มีการติดเชื้อจากภายนอกร่างกาย มักพบในกรณี open fracture
มีการติดเชื้อในร่างกายลุกลามเข้าสู่กระแสเลือด
มีความผิดปกติของหลอดเลือดจากโรคต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดบริเวณที่มีการอักเสบติดเชื้อ
ผิวหนังแดง ตึง
รูหนอง(sinus tract)
การวินิจฉัย
1.ประวัติความเจ็บป่วย
2.อาการและอาการแสดง
3.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การวินิจฉัยทางรังสี
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะทั่วไป
ผ่าตัดเอากระดูกที่เน่าออก
จัดกระดูกที่มีการอักเสบให้อยู่นิ่งๆ
ปลูกกระดูก
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบ
แผลเป็น
กระดูกสั้นกว่าปกติ
แผลเป็นกลายเป็นมะเร็ง
Osteoarthritis
สาเหตุ
1.ความอ้วน
2.อายุ
อาการและอาการแสดง
อาการปวด (pain)
มีเสียงกรอบแกรบขณะเคลื่อนไหว
3.ข้อบวมโต
4.ข้อผิดรูป
การพยาบาลผู้ป่วยที่ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
เทียมทดแทน
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
การฟื้นฟูหลังเปลี่ยน
คำแนะนำ
ข้อสะโพกเสื่อม
รักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยน
ข้อสะโพกเทียม
การป้องกันข ้อสะโพกเทียมหลุด (หลังผ่าตัด
ระยะแรก)
ข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติ
Rheumatoid Arthritis
สาเหต
พันธุกรรม
โรคติดเชื้อบางชนิด
ฮอร์โมนเพศ
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดข้อ และมีบวมแดงร้อนของข้อหลายข้อ โดยเป็นกับข้อที่มีเยื่อบุข้อคือ ข้อปลาย (peripheral joint) ผู้ป่วยจะมีข้อฝืด
การรักษา
ยาต้านการอักเสบ
ยาต้านรูมาติส
ยาสเตียรอยด์
Gouty Arthritis
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติทาง metabolism ทํา
ให ้ระดับของกรดยูริคในเลือดสูง
ปัจจัยที่ทําให้ร่างกายมีกรดยูริคสูง
1.อาหาร
2.ร่างกายสร้างมาเอง
การวินิจฉัย
การตรวจหา urate crystal
จากประวัติมีอาการปวดบริเวณหัวแม่เท้าหรือ
ข้อเท้า
การตรวจหา uric acid ในเลือด จะพบว่าสูง
กว่าปกติ
การรักษา
รักษาด้วยยา
รักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกอักเสบติดเชื้อ
การประเมินทางการพยาบาล
ข้อมูลอัตนัย
ข้อมูลปรนัย
วินิจฉัยการพยาบาล
มีการอักเสบติดเชื้อ
ไม่สุขสบายจากการเจ็บปวด
ภูมิต้านทานลด
วิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยเรื้อรัง
วัตถุประสงค์
ลดภาวะการอักเสบ
ป้องกันการแพร่กระจาย
กิจกรรมพยาบาล
ทำแผล
ให้ยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษา
บันทึกสัญญาณชีพ
บันทึกการเปลี่ยนแปลงของบาดแผล
บันทึกลักษณะของเสีย รายงานให้แพทย์ทราบ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การดูแลใส่เฝือก
ยกขาสูงวางไว้บนหมอน
ดูแลให้ออกกำลังกายกล้ามเนื้อทุกส่วน