Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกียวกับ กระดูก ข้อ…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกียวกับ
กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ Noninfectious
Gouty arthntis
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติของระบบเผาพลาญ ให้ระดับของกรดยูริในเลือดสูง เนื่องจากร่างกายไม่สารถขับกรดนี้ออกจากร่างกายได้ เมื่อเกิดการคั่งของกรดยูริค ทำให้เกลือของกรดยูริค monosodium urate ตกตะกอนในข้อ ทำให้ข้ออักเสบ
ปัจจััยที่ทำให้เกิด
อาหาร
ร่างกายสร้างขึ้นมาเอง
การวินิจฉัย
การตรวจหา urate crystal
จากประวัติปวดหัวแม่เท้า หรือมือ
ตรวจหา uric acid ในเลือด
การรักษา
รักษาด้วยยา
โคลซิซิน
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่ steroid
ยาทีที่ออกฤทธิ์ลดการสร้างกรดยูริคในร่างกาย
Steroid
ยาที่ออกฤทธิ์เร่งการขับกรดยูริคทางไต
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ถ้าก้อนผลึกมาสะสมทำให้ข้อแข็ง ไม่สามารถเคลื่อนไหว
กระดูกข้อถูกทำลายมาก
ข้อเสียแล้ว ทำข้อใหม่
ข้อเสียหายมาก ไม่แข็งแรง จึงเชื่่อมข้อเข้าด้วยกัน
แผลเรื้อรัง ขนาดใหญ่ ทำ skin graft
Bone tumor
กลุ่มของเซลล์เจริญมากผิดปกติ
benign tumor เนื้องอกไม่ร้ายแรง เกิดขึ้นเฉพาะที่ ไม่ค่่อยแพร่กระจาย
1.maligment tumor / cancer เนื้อร้ายหรือมะเร็งแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น
เนื้องอกกระดูกแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม
เนื้องอกกระดูกปฐมภูมิ อาจจะเป็นได้ทั้งเนื้องอกชนิดที่ไม่ร้ายแรง หรือเนื้องอกไม่ร้ายแรง
สาเหตุุ
ความผิดปกติ
ปัจจัยด้านกายภาพ
ปัจจัยด้านการติดเชื้อ
อื่น ๆ
อาการ
ปวด
คลำได้ก้อน
กระดูกหักแบบมีพยาธิสภาพ
กระดูกผิดรูป
การตรวจพบโดยบังเอิญ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การถ่ายภาพรังสี
ตรวจ LAB
MRI / CT - scan
การเอาชิ้นเนื้อไปตรวจ Biopsy
แนวทางการรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
เนื้องอกทุติยภูมิ มะเร็ง
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วย และครอบครัวพ้นผ่านปัญหาเหล่านี้ไปได้
รวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยเพื่อวางแผนให้การพยาบาล ดูแลความทุกข์ทรมานจากอาการปวด
ทีมต้องเตรียมผู้ป่วยและครอบครัวให้พร้อมในการดูแลตรเอง เพื่อให้ผู้ป่วยได้ไปอย่างสงบและสมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
Fracture
คือภาวะที่เนื้อเยื่อขาดความต่อเนื่อง หรือ กระดูกแตกออกจากกันเป็น 2 ส่วน หรือมากกว่าโดยได้รับการกระทำจากแรง
สาเหตุ
แรงกระทำ
โดยตรง Direct force
ทางอ้อม Indirect force
การกระตุก หรือการหดตัวกันของกล้ามเนื้ออย่างแรง
Sudden muscular force
การหักหรือหลุดของกระดูฏและข้อที่มีโรคหรือพยาธิสภาพอยู่แล้ว Disease pf bone
ชนิดของกระดูกหัก
แบบปิด closed fracture หรือ
simple fracture
แบบเปิด open fracture หรือ
compound fracture
การประเมินสภาพ
1.ประวัติผู้ป่วยหลัก
ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลการเจ็บป่วย
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจโดยถ่ายภาพรังสี
4.การตรวจห้องปฏิบัติการ
ค่า CBC ตรวจดูค่าเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวชนิดต่าง ๆ อาจะพบว่า Hematocrit HemoGlobin ลดลงเนื่องจากกระบวนการอักเสบ
ตรวจ Urinalysis ปัสสาวะ ดูลิ่มเลือด
จุดประสงค์การรักษากระดูกหัก
1.เพื่อให้กระดูกติดกันและแข็งแรง
2.สามารถกลับไปใช้การได้ดังเดิม
การรักษากระดูกหัก
Intra - articular fractures ต้องรักษาให้ได้ anatomical reduction และมีการขยับของข้อให้เร็วที่สุด ป้องกันข้อติด
Metaphyseal fracture ต้องจัดแนวกระดูกให้ได้ดังเดิม
Diaphyseal fracture จัดแนวกระดูกให้มีความยาวดังเดิม ไม่มีการบิดหมุนที่ผิดปกติ และมีแนวข้อที่ดีไม่จำเป็นต้องจัดกระดูกทุกชิ้นให้ได้รูปดังเดิม
การพยาบาล
-กรณีผู้ป่วยใส่เฝือกแขน ฝึกการใช้งานข้างปกติ ใช้ผ้าคล้องคอพยุงแขนเสมอ ใช้เก้าอี้มีผนักพิง นอนหัวเตียงสูง ดูแลขอบเฝือกการถูกกด บริหารกล้ามเนื้อเสมอ ๆ
กรณีใส่เฝือกที่ขา ถ้าใส่เฝือกขาทรงกระบอกยาว ยกเฝือกให้สูง การจัดวางเฝือกชนิดยาวในท่านอนหงาย ใช้หมอนรองให้เฝือกสูงกว่าระดับหัวใจ เปลี่ยนท่าทุก 3-4 ชั่วโมง ให้ออกกำลังกายแบบ Isometric exercise คือการเกร็งกล้ามเนื่องที่อยู่ในเฝือกและนอกเฝือก
Ampulation
Osteoporosis
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด
1.หญิงหมดประจำเดือน
2.การกินอาหารไม่ถูกสัดส่วน
3.กรรมพันธุ์
4.สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
5.ขาดการออกกำลังกายที่มีการแบกรับน้ำหนัก
6.น้ำหนักตัว
7.โรคบางอย่าง
8.ได้รับยาบางชนิด
9.ผู้สูงอายุ
การวินิจฉัย
ประวัติการเจ็บป่วย ตำแหน่งที่หักบ่อยคือข้อมือ สะโพก สันหลัง การเอ็กซ์เรย์ การวัดด้วยคลื่นเสียงอัลตร้า การวัดความหนาแน่นของเนื้อกระดูก
แนวทางการรักษา
การออกกำลังกาย
ขจัดปัญจัยเสี่ยงที่ทำให้สูญเสียเนื้อกระดูก
รักษาด้วยยา
ยาที่มีฤทธิ์ลดการทำลายกระดูก เช่น ฮอร์โมนเอสโตรเจน แคลซิโตนิน
ยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นการสร้างกระดูก เช่น วิตามินดีฟลูออไรด์
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ
Osteoarthritis
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ปฐมภูมิ
เกิดเองโดยไม่่มีโรค มีแต่ปัจจัย เช่น ความอ้วน พันธุกรรม
ทุติยภูมิ
มีโรคหรือความปกติของข้อนั้นเป็นสาเหตุ
อาการ
ปวด มีเสียงกรอบแกรบภายในข้อ ข้อบวมโต ข้อผิดรูป ข้อติด
Rheumatoid arthritis
โรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของข้อหลายข้อที่พบบ่อยที่สุด การอักเสบจะเกิดขึ้นที่เยื่อบุในข้อเป็นส่วนใหญ๋ เกิดในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
พันธุกรรม
โรคติดเชื้อบางชนิด
ฮอร์โมนและสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ
อาการและอาการแสดง
เจ็บปวดข้อ แดงร้อนของข้อหลายข้อ ข้อปลาย
ฝืดตึงตอนเช้า เป็นนานกว่า 1 ชั่วโมง
ข้อแคบและข้อติด กล้ามเนื้อลีบ
ในรายที่รุนแรง จะพบก้อนเนื้อแข็งบริเวณใต้ผิวหนัง บริเวณข้อศอก หรือปุ่มรูมาตอยด์
มีไข้ต่ำ ในระยะที่โรคกำเริบ น้ำหนักลดลง อ่อนเพลียตอนบ่าย ๆ ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่าเลือดพบโลหิตจาง
การตรวจทางรังสี
การรักษา
ให้ผู้ป่วยพักการใช้งานของข้อ พักผ่อนให้เพียงพอ
การรักษาโดยการใช้ยา
ยาต้านอักเสบไม่ใช่ steroid ลดเจ็บปวด แต่ไม่ยับยั้งการดำเนินของโรค
ยาต้านรูมาติสซั่ม ที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินของโรค
ยา steroid (prednisolone)
การรักษาด้วยการผ่าตัด
จะทำในรายที่รักษาด้วยาอย่างเต็มที่แล้วแต่ยังมีข้ออักเสบเรื้อรังอยู่
ในรายที่พิการไปมากแล้ว โดยเฉพาะข้อขา หรือข้อเข่า
Osteomyelitis
กระดูกอักเสบติดเชื้อ หมายถึง การอักเสบติดเชื้อที่เกิดกับกระดูกทุกชั้น
สาเหตุ
แบคทีเรีย
เชื้อรา
ไวรัส
ปรสิต
เชื้อโรคสามารถเข้ากระดูกได้โดย
haematogenous spreading
direct spreading
indirect spreading
แบ่งตามระยะความรุนแรงของโรค
acute osteomyelitis การติดเชื้อของกระดูกอย่างเฉียบพลัน
อาการ
อาการทั่วไป : ไข้สูง
อาการเฉพาะที่ : ปวด บวม แดงร้อน บริเวณกระดูกที่ีการติดเชื้อ
การวินิจฉัยโรค
ประวัติความเจ็บป่วย
การตรวจร่างกาย
การตรวจห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางรังสี
การตรวจทางรังสีนิวเคลียร์
การตรวจทาง Computer tomography
การตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นแม่เหล็ก
การดูดเจาะจากบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
การรักษาทั่วไป
ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก
ให้ยาปฏิชีวะ
ให้ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ให้ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์
การรักษาเฉพาะที่
ประคบด้วยความเย็น บรรเทาอาการปวด
ทำการผ่าตัดเอาหนองออก
subacuteosteomyelitis การติดเชื้อที่ค่อย ๆ เกิด ไม่มีอาการเจ็บป่วย ปวดเล็กน้อย ตรวจพบโดยบังเอิญ
การรักษาโดยทั่วไป
ให้ยาปฏฺชีวนะ
ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก
ได้ทำการขูดล้างฌพรงกระดูฏ
chronic osteomyelitis
สาเหตุ
การติดเชื้อจากนอกร่างกาย (Open fracture)
ติดเชื้อในร่างกาย ลุกลามเข้าสู่กระแสเลือด
มีความผิดปกติของหลอดเลือดจากโรคต่าง ๆ เช่น เบาหวาน
เกิดจาก acute osteomyelitis ที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
อาการ
ไข้ ปวดบริเวณที่มีการอักเสบติดเชื้อ แดง ตึง รูหนอง
การวินิจฉัย
ประวัติความเจ็บป่วย
อาการและอาการแสดง
การวินิจฉัยทางรังสี
ผลตรวจ LAB
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะทั่วไป
การผ่าตัดเอากระดูกเน่าตายออก
จัดให้กระดูกที่อักเสบอยู่นิ่ง ๆ
การปลูกกระดูก
การใช้ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกหักบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
ข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบ
แผลเป็น
กระดูกสั้นกว่าปกติ
แผลกลายเป็นมะเร็งง
Septic arthritis
ปัญหาการบาดเจ็บระบบกระดูกและกล้ามเนื้อทีี่พบได้บ่อย
ข้อแพลง sprain
เป็นการฉีกขาดของเส้นเอ็นหุ้มข้ออาจะขาดบางส่วนหรือตลอดข้อแพลง
ข้อเคล็ด strain
เส้นเอ็นหรือกล้ามเนื้อถูกยึดออกหรือถูกใช้งานมากเกินไป
แบบเฉียบพลัน เกิดจากการเคลื่อนไหวอวัยวะอย่างรวดเร็ว
แบบเรื้อรัง เกิดจากการใช้อวัยวะนั้น ๆ เป็นเวลานาน ๆ
ข้อเคลื่อน dislocation
การถูกกระชากอย่างแรงทำให้ข้อต่อปลายกระดูกเคลื่อนหรือหลุดจากที่
นางสาวชมพูนุช เนียมรุ่งเรือง เลขที่ 13 รหัสนักศึกษา 62126301015