Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดบรรทัดฐานข้อมูล - Coggle Diagram
การจัดบรรทัดฐานข้อมูล
ขั้นตอนของการจัดบรรทัดฐาน
รูปแบบบรรทัดฐานที่ 3 (third normal form
(3NF))
การขึ้นต่อกันของฟังก์ชันแบบทรานซิทีฟ (transitive functional dependency)
รูปแบบบรรทัดฐานที่ บี ซี เอ็น เอฟ (boyce-codd normal form(BCNF))
อยู่บนพื้นฐานของ
การขึ้นต่อกันของฟังก์ชัน ที่พิจารณาคีย์คู่แข่งที่อยู่ในรีเลชันแต่อย่างไรก็ตามรูปแบบบรรทัดฐานทีบี ซี
เอ็น เอฟ ยังรวมถึงข้อบังคับที่เพิ่มเติมขึ้นมา
รูปแบบบรรทัดฐานที่ 2 (second normal form(2NF))
อยู่บนพื้นฐานแนวความคิดของการขึ้น
ต่อกันของฟังก์ชันแบบเต็ม (full functional dependency)
ขึ้นต่อกันของฟังก์ชันแบบบางส่วน
(partial functional dependency)
รูปแบบบรรทัดฐานที่ 4 (fourth normal form(4NF))
รีเลชันที่อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐานที่ บี ซี เอ็น เอฟ
และไม่มีการขึ้นต่อกันของข้อมูลแบบหลายค่า
รูปแบบบรรทดฐานที่ 1 (first normal form(1NF))
กำจัดกลุ่มข้อมูลที่ซ้ำาซ้อน
กำหนดคีย์ให้กับรีเลชัน
รูปแบบบรรทัดฐานที่ 5 (fifth normal form(5NF))
รีเลชันที่ไม่มีการขึ้นต่อกันแบบร่วมกัน (join dependency)
วัตถุประสงค์ของการจัดบรรทัดฐาน
การจัดบรรทัดฐานเป็นวิธีการที่ใช้ในการดำเนินการกับกลุ่มของรีเลชัน เพื่อให้กลุ่มรีเลชันนั้นมี
คุณสมบัติตามที่ต้องการ
การจัดบรรทัดฐานดำเนินการเสมือนลำดับของการทดสอบรีเลชัน
เพื่อใช้ในการกำหนดว่าอะไรคือคุณสมบัติที่ต้องการของรีเลชัน
เพื่อป้องกันการเกิดความผิดพลาดที่เกิดจากการปรับปรุงข้อมูล (update
anomalies)
การทำงานแบบ Top-Down และ Bottom-Up
Top-Down เป็นการออกแบบการทำงาน ลักษณะการทำงาน รวมถึงเอกสาร เครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการทำงานจากผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้ออกแบบ และจัดทำขึ้นมา ซึ่งข้อดีของการบริหารจัดการแบบนี้คือ กระบวนการทำงานได้จากประสบการณ์ทำงานของผู้บริหารระดับสูง มีการวางแผนป้องกันข้อผิดพลาดล่วงหน้า แต่ข้อเสียของการบริหารจัดการแบบนี้คือ หากระหว่างการทำงานมีการเปลี่ยนแปลง หรือปรับปรุงกระบวนการทำงาน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ การเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นจะทำให้การทำงานไม่สอดคล้องกับนโยบาย หรือกระบวนการที่กำหนดไว้ การจะปรับปรุงกระบวนการใหม่ให้สอดคล้องกับการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปก็จะทำได้ช้า เพราะต้องผ่านการพิจารณาจากผู้บริหารระดับสุงก่อน
Bottom-Up เป็นการออกแบบการทำงาน ที่มีลักษณะตรงกันข้ามกับ Top-Down กล่าวคือพนักงานจะเป็นผู้เสนอ กระบวนการทำงาน เครื่องมือหรือเอกสารที่ใช้ในการทำงาน รวมถึงการ Control ต่าง ๆ ขึ้นมาให้กับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งจะทำให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน แต่การทำงานแบบ Button-Up นั้นจะต้องมีการสื่อสารที่รวดเร็ว เม่นยำ ตลอดจนผู้บริหารจะต้องทำงานใกล้ชิดกับพนักงานเพื่อคอยปรับปรุงนโยบายการทำงานให้ทันสมัยอยู่เสมอ และการกระทำที่กระทบกับฝ่ายอื่น ๆ ก็จะต้องมีการสื่อสารอย่างต่อเป็นระบบด้วย