Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
เป็นการตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์-ระยะคลอด
การตรวจทางคลินิค (Clinical assessment)
ซักประวัติ
ประวัติการใช้ยาและแพ้ยา
ประวัติครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติส่วนตัว :อายุ
ชั่งน้ำหนักมารดา
น้ำหนักน้อย
(BMI <19.8)
น้ำหนักเพิม/สัปดาห์ 0.49กก.
น้ำหนักเพิ่มตลอดระยะการตั้งครรภ์ 12.5-18 กก.
น้ำหนักเพิ่มในไตรมาสแรก 2.3กก.
น้ำหนักมาก
(BMI >26-29)
น้ำหนักเพิ่ม/สัปดาห์ 0.3 กก.
น้ำหนักเพิ่มตลอดระยะการตั้งครรภ์ 7-11.5 กก.
น้ำหนักเพิ่มในไตรมาสแรก0.9 กก.
น้ำหนักปกติ
( BMI 19.8-26.0)
น้ำหนักเพิ่ม/สัปดาห์ 0.44กก.
น้ำหนักเพิ่มตลอดระยะการตั้งครรภ์ 11.5-16กก.
น้ำหนักเพิ่มในไตรมาสแรก 1.6 กก.
ครรภ์แฝด
น้ำหนักเพิ่มในไตรมาสแรก 1.6 กก.
น้ำหนักเพิ่ม/สัปดาห์ 0.75 กก.
น้ำหนักเพิ่มตลอดระยะการตั้งครรภ์ 16-20 กก.
การวัดความสูงของมดลูก
3/4+ >สะดือ = 38-40 week (ท้องหลัง)
3/4->สะดือ = 38-40 week (ท้องแรกเนื่องจากท้องลด) 3/4>สะดือ = 36 week 2/4+>สะดือ = 32week
2/4->สะดือ = 28 week
1/4>สะดิอ = 24week
ระดับสะดือ = 20 week
2/3 >หัวหน่าว = 16 week (หรือ1/3<สะดือ)
1/3>หัวหน่าว = 12 week (หรือ2/3<สะดือ)
วัดระดับความสูงของยอดมดลูกด้วยสายเทป ใช้วิธี McDonald
ใช้วิธี McDonald
อายุครรภ์ (สัปดาห์)=ความสูงของมดลูก(ซม.)x8/7หรืออายุครรภ์ เดือน = ความสูงของมดลูก(ซม.)x 2/7
ผิดปกติ ถ้าความสูงที่วัดได้ <ค่าคำนวณได้ 3 ซม.หรือ ความสูงที่วัดได้ > ค่าคำนวณได้ 3 :red_cross:
ตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจทารก (Fetal heart rate : FHR)
การตรวจนับจำนวนทารกในครรภ์ดิ้น (Fetal movement count : FMC)
การนับจำนวนครั้งของการดิ้นหรือการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์อย่างต่อเนื่องจนครบ10 ครั้งภายใน 4hr. :red_flag:เริ่มนับเมื่ออายุครรภ์ 32week
วิธีการของซาดอฟสกี้ (Sadovsky)
การนับการดิ้นของทารกในครรภ์วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 hr. หลังอาหาร เช้า-กลางวัน-เย็น ผลรวมจำนวนครั้งของการดิ้น 3 เวลา หลังอาหารมีค่า ≥ 10 :check:แปลผลปกติ
หากทารกดิ้น <10ครั้ง/วัน ให้มาพบแพทย์ก่อนนัด ปกติทารกในครรภ์จะมีสัญญาณอันตรายก่อนที่จะเกิดภาวะ ขาดออกซิเจน (fetal distress) เรียกว่า : movement alarm signal (MAS) ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง/12 hr. เป็นเวลา2วันติดต่อกัน :warning:ถ้าหยุดดิ้นประมาณ 12-24 hr.ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์
การตรวจทางชีวเคมี (Biochemical assessment)
การประเมินทางชีวเคมี
-คัดกรองจากเลือดมารดาหาระดับแอลฟาฟีโตโปรตีน
(maternal serum alpha-fetoprotein screening=MSAFP)
ตรวจเมื่่ออายุครรภ์ 15 week ค่าปกติ
AFP = 2.5 MoM (multiple of median)
ถ้า AFP > 2.5 MoM ทารกเสี่ยงมีท่อประสาทเปิด (neural tube defects)
ถ้า AFP<2.5 MoM ทารกเสี่ยงเป็นกลุ่มอาการดาวน์ (down syndrome)
การดูดเนื้อเยื่อรก (Chorionic Villus Sampling=CVS)
เพื่อศึกษาโครโมโซม
เก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์(fetal blood sampling)
ตรวจหาโรคทางพันธุกรรม : ธาลัสซีเมีย
ฮีโมฟีเลีย(hemophilia)
ภาวะทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
การติดเชื้อไวรัส
การตรวจระดับ Estriol (E3)ในเลือดและปัสสาวะจากมาราดา
เพิ่มรวดเร็วในช่วงอายุครรภ์ 35-36wks
ตรวจได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 28-32 wks.เป็นต้นไป
การแปลผล
-E3 ที่อยู่ในช่วง2SDของแต่ละweek: ทารกปกติดี (Reassuring)
-E3 ที่ต่ำกว่าช่วง 2SD ของแต่ละweek : ไม่อาจรับประกันได้ว่าทารกปกติดี (nonreassuring)
พบผลบวกลวงสูงจากหลายปัจจัยรบกวนระดับ E3
-ใช้ยาสเตียรอยด์
-กินยาปฏิชีวนะ ทำให้ลดการดูดซึมที่ลำไส้สตรีตั้งครรภ์
การตรวจ Human placenta lactogen
การเจาะน้ำคร่ำ
ตรวจโครโมโซม เพื่อประเมิน Down syndrome
เพื่อประเมินอายุครรภ์ระหว่าง 15-18wks.
ทดสอบความสมบูรณ์ทารกในครรภ์
(lung maturity test)
ประเมินอายุครรภ์ 36-37 wks. เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดภาวะ (respiratory distress syndrome=RDS)
การพยาบาลก่อนเจาะน้ำคร่ำ
1.สร้างสัมพันธภาพ
2.อธิบายเหตุผล/ขั้นตอนการเจาะน้ำคร่ำ
3.ประเมินอายุครรภ์ก่อนทำการเจาะน้ำคร่ำ
4.อธิบายการดูแลตนเองขณะทำและหลังทำ
5.เปิดโอกาศให้ซักถาม เตรียมเครื่องมือเจาะน้ำคร่ำ
6.ให้ปัสสาวะก่อนทำ ให้กำลังใจอยู่ข้างๆ
การพยาบาล หลังเจาะน้ำคร่ำ
1.ให้นอนพักประมาณ 15-30 นาทีหลังการเจาะน้ำคร่ำ
2.สังเกตอาการผิดปกติ เช่น อาการปวดท้อง หรืออาการเลือดออก
3.ถ้าตรวจหาโครโมโซมที่มีความเสี่ยงเป็น Down syndrome จะนัดฟังผลใน 4 week
การตรวจทางชีวฟิสิกส์ (Biophysical assessment)
ระยะตั้งครรภ์
Non stress teat
เป็นการตรวจดูการเต้นของหัวใจทารกเมื่อทารกมีกรเคลื่อนไหว
ข้อบ่งชี้การทำ NST
1.ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
2.ตั้งครรภ์เกินกำหนด
3.ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
4.มีภาวะแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์ : เบาหวานร่วมกับกรตั้งครรภ์ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง โรคหัวใจ
5.มีถุงน้ำคร่ำแตก
6.ตั้งครรภ์แฝด
7.มีภาวะ Rh isommunization
8.อายุมากกว่า 35 ปี
9.มีประวัติทารกตายในครรภ์
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพ
2.อธิบายเหตุผล/ขั้นตอนการทำ NST
3.แนะนำให้ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
4.จัดให้สรีตั้งครรภ์นอนท่าศีรษะสูง 30C
5.ตรวจครรภ์หตำแหน่งหลังส่วนสะบักด้วยวิธี Leopold Maneuver คาดสายรัดหน้าท้องโดยให้หัว Ultrasonic transducerวางบนตำแหน่งที่ฟังการเต้นของหัวใจทารกได้ชัดเจน
6.แนะนำให้กดปุ่มfetal movement marker เมื่อรู้สึกว่าทารกดิ้น/เคลื่อนไหว
7.กรณีที่ต้องการประเมินการหดรัดตัวของมดลูกให้คาดหน้าท้องบริเวณยอดมดลูกด้วย toco transducer เพื่อบันทึกระยะเวลา(duration) ความถี่ห่าง (interval) และความรุนแรง (severity)ของการหดรัดตัวของมดลูก
8.เปิดเครื่องบันทึกกรเต้นของหัวใจทารกลงบนกราฟนาน 20 นาที
9.กรณีทารกไม่ดิ้น อาจเนื่องจากนอนหลับ กระตุ้นทารกด้วย fetal acoustic stimulator
การอ่านลักษณะการเต้นของหัวใจทารก
Reactive ปกติ
Preg. ≥ 32 wks. จะมี FHR เพิ่มขึ้น (acceleration)>15ครั้ง/นาที นาน 15 วินาที เมื่อ ทารกมีการเคลื่อนไหว อย่างน้อย 2 ครั้ง ใน20 นาที อยู่ใน baseline ระหว่าง 110-160 ครั้ง/นาที
Preg. < 32 wks. จะมี FHR เพิ่มขึ้น (acceleration)>10ครั้ง/นาที นาน 10 วินาที เมื่อ ทารกมีการเคลื่อนไหว อย่างน้อย 2 ครั้ง ใน20 นาที อยู่ใน baseline ระหว่าง 110-160 ครั้ง/นาที
การพยาบาล : แจ้งผลการตรวจให้สตรีตั้งครรภ์ทราบ
Non reactive
ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของ FHS เมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว ภายใน 40 นาทีและมี baseline variability ลดลงหรือหายไป
สาเหตุ
1.ทารกในครรภ์หลับ ซึ่งสามารถหลับได้นาน 20-75 นาที
การพยาบาล :check:กระตุ้นด้วยfetal acoustic stimulatorและบันทึกต่อไปอีก 20 นาที
2.ทารกอายุครรภ์น้อย เนื่องจากระบบประสาทส่วนกลางยังสร้างไม่สมบูรณ์
กายพยาบาล :check: รายงานแพทย์เพื่อประเมินและยืนยันสุขภาพทารกอีกครั้งด้วยการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
Suspicious
ทารกอาจผิดปกติ
FHS เพิ่ม<2ครั้งหรือเพิ่มขึ้น <15 ครั้ง/นาที
อยู่สั้นกว่า 15 วินาที เมื่อทารกเคลื่อนไหวทดสอบซ้ำใน 24-48hr.
การพยาบาล :check: รายงานแพทย์เพื่อตรวจU/S
Uninterpretable
อ่านผลไม่ได้
ทดสอบซ้ำภายใน 24 hr. หรือตรวจวิธีอืน
การพยาบาล :check:รายงานแพทย์เพื่อตรวจU/S
Contraction stress test เป็นการตรวจดูการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่่อมดลูกหดรัดตัว
:red_cross:ข้อห้ามการตรวจ
ประวัติเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ครรภ์แฝด
ประวัติผ่าคลอดมาก่อน
มดลูกรูปร่างผิดปกติ รกเกาะต่ำ
fetal biophysical profile:BPP
เป็นการตรวจดูจาก Ultrasound
1.การหายใจของทารก(fetal breathing movement=FBM)
2.การเคลื่อนไหวของทารกทั่วร่างกาย
(gross body movment =FM)
3.กำลังกล้ามเนื้อของทารก (fetal tone =FT)
4.การที่หัวใจทารกตอบสนองเมื่อทารกเคลื่อนไหว (reative fetal heart sound=FHS)
5.ปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid volume)
ระยะคลอด
External fetal monitoring (EFM)
Early Decerelation : FHRค่อยๆลดลงและกลับเข้าสู่ Baseline ปกติ จะสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
LateDeceleration : FHRค่อยๆลดลงและกลับเข้าสู่ Baseline ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
Variable deceleration : มีการลดลงของ FHR ต่ำกว่าBaseline มากกว่า 15 bpm เป็นเวลามากกว่า 15 วินาทีแต่น้อยกว่า 2 นาทีโดย onset ความลึกและระยะเวลา ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกเกิดจากภาวะที่สายสะดือของทารกถูกกด (cord compression)