Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเนื้อหา, image, (นางสาวจินตนา จำปา 180101039) - Coggle Diagram
สรุปเนื้อหา
ระยะตั้งครรภ์
อาการ และอาการแสดงของการตั้งครรภ์
Positive sign
ตั้งครรภ์100%ตรวจด้วยเครื่องมือทันสมัยโดยแพทย์ ได้ยินเสียงหัวใจทารก, เห็นทารกดิ้น , เห็นทารกจาก U/S , X-ray เห็นทารก
Presomtive sign
ตั้งครรภ์ 15-20% อาการคล้ายกับอาการไม่สบายอื่นๆ เอาไว้ประกอบการวินิจฉัยอื่น , อ่อนเพลีย ,Fetal movement (ไตรมาส2 ), เจ็บคัดตึงเต้านม ,ขาดประจำเดือน, คลื่นไส้อาเจียน, ถ่ายปัสสาวะบ่อย , รู้สึกว่าเด็กดิ้น , Lineanigra ,Chadwick’s sign
Probable sign
ตั้งครรภ์ 50% Urine pregnancy test ท้องโตขึ้น, มดลูกหดรัดตัว ,Goodell’s sign ปากมดลูกอ่อนนุ่ม , Heger’s sign ,McDonald’s sign , Ballottement ม คลำพบเด็ก , ได้ยิน Uterine souffle ,ตรวจพบ HCG
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
อวัยวะสืบพันธ์ มดลูกอ่อนนุ่มลง รูปร่างรูปแพร์ เต้านมใหญ่ แข็งขึ้น
ทางเดินปัสสาวะ อาจติดเชื้อปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย
ต่อมไร้ท่อ เพิ่มปริมาณฮอร์โมน ต่างๆ
กล้ามเนื้อ กระดูกและผิวหนัง ปวดหลัง มีhyperpimentation , Chloasma , Gravidarum
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตสังคม
:red_flag:First Trimester
1-3 month, 1-13 weeks
เกิดความรู้สึกขัดแย้ง ลังเลใจ
:red_flag:Third Trimester
7-9 month, 27-40 weeks
เกิดความกังวล เนื่องจากอายุครรภ์มากขึ้น ความไม่สุขสบายมากขึ้น
:red_flag:Second Trimester
4-6 month, 14-26 weeks
ยอมรับการตั้งครรภ์ อารมณ์คงที่มากขึ้น
การเจริญเติบโต และ พัฒนาการของทารกในครรภ์
Embryonal period
2-8 สัปดาห์หลังปฏิสนธิเป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์เป็นระยะที่มีความสำคัญสามารถเกิดความพิการได้ตั้งแต่เกิด
12-24 ชม. หลังจาก ovulation จะมีการปฏิสนธิ Zygote
วันที่ 2-3 จะมีลักษณะคล้ายน้อยหน่า
วันที่ 4-5 Blastocyte
วันที่ 6-7 เริ่มฝังตัวที่ผนังชั้นในโพรงมดลูก
วันที่ 14 ฝังตัวเสร็จสิ้นสมบูรณ์
สัปดาห์ที่3 : เริ่มมีการเจริญเติบโตของระบบไหลเวียนโลหิต
ปลายสัปดาห์ที่ 4 : หัวใจ & เยื่อหุ้มหัวใจเริ่มเห็นชัด
สัปดาห์ที่ 5 : สมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เริ่มมีตุ่มแขน ขา & ตา
ปลายสัปดาห์ที่ 6 : เริ่มมีกระดูกอ่อน และใบหู
สัปดาห์ที่ 7-8 : รูปร่างเป็นคนชัดเจน อวัยวะภายในเกิดครบทุกอย่าง อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกมีแล้วแต่ยังไม่สามารถแยกเพศได้
Fetal period
สัปดาห์ที่ 9 จนถึง 40+-2 สัปดาห์หลังปฏิสนธิจะเป็นเรื่องของ growth & maturation ช่วงแรกจะเป็นการเพิ่มขนาดในช่วงหลังเป็นการเพิ่มน้ าหนัก
สัปดาห์ ที่ 12 : เริ่มมีขนอ่อน & เล็บเกิดขึ้น แยกเพศจากอวัยวะภายนอกได้เริ่มมีการเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย
สัปดาห์ ที่ 16 : มีผม & ขนคิ้ว เริ่มได้ยินเสียงหัวใจ มีการเคลื่อนไหวรุนแรง (quickening) รู้สึกได้ในมารดาที่เคยตั้งครรภ์
สัปดาห์ที่ 18-20 : มีการเคลื่อนไหว (quickening) รู้สึกได้ในมารดาครรภ์แรก ล าตัวเริ่มมีไขปกคลุม มีขนอ่อนเกิดขึ้น
สัปดาห์ที่ 24 : ยาว 30 ซม. หนัก 600 กรัม ศีรษะและล าตัวเริ่มได้สัดส่วน ฟังเสียงหัวใจได้ชัดเจน ตาทารกเริ่มลืม และนิ้วมือเริ่มมีลายนิ้วมือ เล็บเริ่มมีขนจิ๋ว ผิวหนังเหี่ยวย่น ไขมันบริเวณลำตัวหนาขึ้นถ้าทารกคลอดก่อนกำหนดในเดือนดังกล่าวนี้โอกาสจะเลียงรอดยากมาก
สัปดาห์ที่ 28 : ยาว 35 ซม. หนัก 1000-1100 กรัมระยะนี้คลอดออกมาอาจสามารถเลี้ยงรอดชีวิตยากมาก
สัปดาห์ที่ 32 : ยาว 40 ซม. หนัก 1700-1800 กรัม ทารกในครรภ์จะมีการเคลื่อนไหวและปฏิกิริยาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การจาม ดูดมือ ดูดนิ้วเท้า
สัปดาห์ที่ 36 : ยาว 45 ซม. หนัก 2200 กรัม ขนอ่อนตามตัวจะค่อยๆหายไป ผมจะหนาและนุ่มขึ้นใบหูมีกระดูกอ่อน เด็กผู้ชายอัณฑะจะเคลื่อนมาอยู่บริเวณ Inguinal canal ถุงอัณฑะมีรอยย่นเล็กน้อย
สัปดาห์ที่ 40 : ยาว 50 ซม. หนัก 2500 กรัมผิวหนังสีชมพูมีไขมันตามล าตัวมาก ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง มีอวัยวะทุกอย่างครบถ้วน
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
การตตรวจร่างกายและการตรวจภายใน
การเปลี่ยนแปลงที่เต้านม ใหญ่และตงขึ้นรอบเต้านมมีสีคล้ำ
การเปลี่ยนแปลงที่อวัยวะสืบพันธ์ ปากมดลูกนุ่ม เหมือนริมฝีปาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจหาฮอร์โมน HCG
ตรวจปัสสาวะ ใช้ปัสสาวะตื่นนอนครั้งแรก จะพบระดับฮอร์โมนสูง
การตรวจเลือด พบได้เร็วกว่าปัสสาวะ
การซักประวัติ
การขาดระดู ประวัติระดูครั้งสุดท้าย ประวัติการมีเพศสัมพันธ์
อาการตั้งครรภ์ คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลีย ลูกดิ้น ครรภ์แรกประมาณ 18- 20 สัปดาห์ ครรภ์หลัง 16-18 สัปดาห์
การคลอดปกติ
ความหมาย
กระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเพื่อขับทารก รก เยื่อหุ้มทารก และน้ำคร่ำที่อยู่ภายในโพรงมดลูก ผ่านช่องทางคลอดออกสู่ภายนอก
:<3:การคลอดปกติ ประกอบด้วย
อายุครรภ์ครบกำหนอ (38-48 wks.)
vertex presentation
spontaneous labour
เวลาการคลอดทั้งหมดไม่เกิน 24 ชม.
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆเกิดข้นในระยะคลอด
อาการเจ็บครรภ์
เจ็บครรภ์เตือน
มดลูกเริ่มหดรัดตัวน้อย ระยะห่าง มากไม่สม่ำเสมอ
เริ่มเจ็บบริเวณหน้าท้อง และเจ็บอยู่เฉพาะหน้าท้องเท่านั้น
การเจ็บไม่รุนแรง
ไม่มีมูกเลือดออกจากช่องคลอด
ไม่มีการเปิดขยายของปากมดลูกอาจนุ่ม
อาการเจ็บหายไปเมื่อเดินหรือเปลี่ยนท่า
บรรเทาได้ด้วยเทคนิคการผ่อนคลายหรือยานอนหลับ
ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของทารก
เจ็บครรภ์จริง
มดลูกหดรัดตัวทุก 10 ถึง 15 นาที จากนั้นจะหดตัวเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เริ่มเจ็บบริเวณหลังส่วนล่างหรือบั้นเอว แล้วร้าวไปที่หน้าท้อง ส่วนบนบริเวณยอดมดลูก
การเจ็บรุนแรงและถี่ขึ้นเรื่อยๆ
มีมูกเลือด ออกจากช่องคลอด
ปากมดลูกนุ่มและเปิดขยายบางลง
จะเจ็บมากขึ้นเมื่อเดิน
ไม่สามารถใช้เทคนิคผ่อนคลายหรือยานอนหลับช่วยให้หายเจ็บได้ เด็ดขาด
มีผลต่อการเคลื่อนต่ำของทารก
ระยะของการคลอด
ระยะที่1
ระยะตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์จริง-มดลูกเปิด 10 cm 1 ครรภ์แรกใช้เวลา 8-24 ชม. ครรภ์หลังใช้เวลา 8-12 ชม.
Latent phase
ปากมดลูกเปิดช้า นับตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์จริง - ปากมดลูกเปิด 3 ซม. ครรภ์แรกใช้เวลาไม่ควรเกิน 20 ชม. และ 14 ชม. ในครรภ์หลัง
Active phase
ปากมดลูกเปิด 3- 10 ซม. ในครรภ์แรกปากมดลูกอย่างน้อย 1.2 ซม./ ชม. และครรภ์หลังใช้เวลาอย่างน้อย 1.5 ซม./ชม
การเปลี่ยนแปลงในระยะที่1
ผลต่อมารดา
ผลต่อมารดาการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
-Duration of contraction: ช่วงเวลาที่มดลูกเริ่มมีการหดรัดตัวจนถึงคลายตัว
Resting period: ตั้งแต่มดลูกคลายตัวจนถึงเริ่มมีการหดรัดตัวครั้งต่อไป
-Interval of contraction and frequency of contraction: ตั้งแต่มดลูกเริ่มหดรัดตัวครั้งหนึ่งจนถึงเริ่มหดรัดตัวอีกครั้งหนึ่ง
Intensity or severity: ความแรงในการหดรัดตัวของมดลูก
การทำงานประสานกันของกล้ามเนื้อมดลูก
ถ้ามดลูกทำงานไม่ประสานกันจะทำให้เกิดภาวะผิดปกติเรียกว่า Bandl's ring ซึ่งอาจทำให้มดลูกแตกได้
การสั้นบางและการเปิดขยายของปากมดลูก
Effacement, Dilatation: มาจากกล้ามเนื้อปากมดลูกถูกดึงรั้งขึ้นไปตามการยืดขยายของกล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างทำให้ปากมดลูกขยายออกบางและสั้นลและสั้นลงมากขึ้น
Mucous bloody show: เกิดเมื่อปากมดลูกเริ่มเปิดขยายจะมีการฉีกขาดของเส้นเลือดฝอยบริเวณปากมดลูกทำให้เห็นลักษณะมูกปนเลือดสีน้ำตาล
ผลต่อทารก
แรงดันที่เกิดจากการหดรัดตัวของมดลูกจะกดศีรษะทารกทำให้อัตราการเต้นของหัวใจทารกลดลงเล็กน้อยและผลักให้ทารกมีการงอตัวและก้มอย่างเต็มที่กระดูกกะโหลกศีรษะของทารกจะมี Molding ทำให้ความดันภายในกะโหลกศีรษะสูงขึ้นและทารกที่คลอดทางช่องคลอดจึงหายใจได้ง่ายกว่าทารกที่คลอดโดยการผ่าตัดทางหน้าท้องเพราะผ่านการบีบรีดน้ำออกทางช่องคลอด
ระยะที่4
ระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังจากรกคลอดระยะนี้เป็นระยะที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือการตกเลือด
พยาบาลควรสังเกตอาการและปฏิบัติต่อมารดาในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอดดังนี้
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกถ้ามีก้อนเลือดค้างอยู่ภายในโพรงมดลูกจะทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีเกิดการตกเลือดได้
สังเกตจำนวนและลักษณะของเลือดที่ออกทางช่องคลอดถ้ามีเลือดออกเกิน 500 มิลลิลิตรขึ้นไปถือว่ามีการตกเลือดหลังคลอดเกิดขึ้น
ตรวจดูกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอซึ่งจะกีดขวางการหดรัดตัวของมดลูกตกเลือดหลังคลอดได้
วัดสัญญาณชีพชีพจรเร็วเกิน 100 ครั้ง / นาทีความดันโลหิตต่ำกว่า 100 mmHg หายใจเร็วมักเป็นอาการแสดงว่าตกเลือดหรือช็อคและอาจมีภาวะ Reactionary fever ได้
ระยะที่3
เป็นระยะทารกคลอดแล้วจนถึงรกคลอด
Signs รกลอกตัว
uterine sign: มดลูกเป็นก้อนกลมแข็ง เอียงไปทางด้านขวาของช่องท้อง
Vulva sign: มีเลือดออกจากช่องคลอดมากกว่า 50 ml.
Cord sign: cord เหี่ยว เกลียวคลาย สายสะดือพลัดต่ำ คลำ pulse ไม่พบ
การลอกตัวของรก
Schultze mechanism: ลอกตัวจากตรงกลางของรกก่อนไม่มี vulva sign เป็นการลอกตัวของรกที่สมบูรณ์
Duncan mechanism: ลอกตัวจากริมขอบรกก่อนจึงมี vulva sign อาจเกิดรกค้างได้
การตรวจรก
เส้นตรวจสายสะดือ: ดูเส้นเลือด vein 1 เส้น artery 2 เส้าความยาวเฉลี่ย 50 cms. ดู true / false knot
-ตรวจเยื่อหุ้มเด็ก: ดูรอยแตกต้องห่างจากขอบรก ≥ 7 cms. ดูความสมดุลของเยื่อหุ้มเด็กด้านแม่และลูก
-ตรวจรกด้านเด็ก: ดูการเกาะของสายสะดือและ Closing Ring of Winkler-Waldeyer ว่าเป็นอย่างไร
-ตรวจรกด้านแม่: ดู cotyledon (15-20 lobes) มี infarction และ calcification, marginal sinus หรือไม่
ระยะที่2
ปากมดลูกเปิด 10 ซม. จนถึงทารกคลอดมาทั้งตัว ครรภ์แรกใช้เวลาประมาณ 1 ชม. ไม่ควรเกิน 2 ชม. ครรภ์ประมาณ 30 นาที ไม่ควรเกิน 60 นาที
กลไก
Engagement: ส่วนที่มีขนาดกว้างใหญ่ที่สุดของศีรษะทารกผ่านเข้าสู่ช่องเชิงกราน
Descent การที่ศีรษะเคลื่อนต่ำลงตามช่องทางคลอด
Flexion: การก้มของศีรษะทารกจนคางชิดหน้าอกทำให้ส่วนนำเปลี่ยนจาก OF เป็น SOB
Internal rotation: การหมุนของส่วนศีรษะทารกที่เกิดขึ้นภายในช่องเชิงกราน
Extension: การที่ศีรษะทารกเงยหน้าผ่านพ้นช่องทางคลอดออกมาภายนอก Restitution และ External rotation: การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอดให้สัมพันธ์กับภายในช่องทางคลอด
Expulsion การขับเคลื่อนเอาตัวเด็กออกมาทั้งหมด
Early: ต่อจากปากมดลูกเปิดหมดผู้คลอดจะพักเพื่อเตรียมเบ่งคลอด
Descent: เป็นช่วงของการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
Perineal phase: เป็นช่วงที่ฝีเย็บเริ่มบางโป่งตึงมอเห็นส่วนน้ำที่ปากช่องคลอด
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ความหมายเป็นการตรวจสอบสุขภาพทารกในครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์-ระยะคลอดมี 3 วิธีคือ
การตรวจทางคลินิก (Clinical assessment)
การตรวจทางชีวเคมี (Biochemical assessment)
การตรวจทางชีวฟิสิกส์ (Biophysical assessment
การตรวจทางคลินิก (Clinical assessment)
ซักประวัติ
2.ชั่งน้ำหนักมารดา
3.วัดความสูกของมดลูก -จากการคลำระดับความสูงของยอดมดลูก -จากการวัดระดับความสูงของยอดมดลูกด้วยสายเทป
ตวจการวัดอัตราการเต้นของหัวใจทารก (fetal heart rate )
การตรวจนับจำนวนลูกดิ้น
(fetal movement count : FMC)
1) วิธีการนับครบสิบ (count to ten) หรือวิธีการคาร์ดิฟ (cardift count to ten) เป็นวิธีการนับจำนวนครั้งของการดิ้นหรือการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์อย่างต่อเนื่องจนครบ 10 ครั้งภายใน 4 ชั่วโมงเริ่มนับเมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์
2) วิธีการของซาดอฟสกี้ (Sadovsky) เป็นการนับการดินของทารกในครรภ์วันละ 3 ครั้งละ 1 ชั่วโมงหลังอาหารเช้า-กลางวัน-เย็นผลรวมจำนวนครั้งของการดิ้น 3 ครั้ง เวลาหลังอาหารมีค่าเท่ากับ ≥10 ครั้ง
แปลผลสุขภาพทารกปกติ
ถ้าทารกดิน <10 ครั้ง / วันให้มาพบแพทย์ก่อนนัดปกติทารกในครรภ์จะมีสัญญาณอันตรายก่อนที่จะเกิดภาวะขาดออกซิเจน (fetal distress) เรียกว่า movement alarm signal (MAS) โดยมีสัญญาณทารกดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งต่อ 12 ชั่วโมงเป็นเวลา 2 วันติดต่อกันและถ้าหยุดดิ้นหรือหยุดเคลื่อนไหวประมาณ 12-24 ชั่วโมงทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์
การตรวจทางชีวฟิสิกส์ (Biophysical assessment
Baseline Fetal heart sound Baseline rate: ค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจทารกปกติ 110-160 ครั้ง / นาทีในระยะเวลา 10 นาที bradycardia <110 ครั้ง / นาที tachycardia> 160 ครั้ง / นาที
Tachycardia FHR> 160 bpm. ในระยะเวลา 10 นาทีสาเหตุ: 1. Maternal fever 2. Fetal infection 3. Hypoxia (chronic / mild) 4. Drug atropine, epinephrine, etc. 5. Hyperthyroidism
Bradycardia: FHR <110 bpm. ในระยะเวลา 10 นาที สาเหตุ: 1. Hypoxia (acute) 2. Drug: local anesthetic 3. Congenital heart block 4. hypothermia
2.Variability คืออัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง (fluctuate) ที่ไม่สม่ำเสมอทั้ง amplitude ความถี่ (frequency) ระหว่าง beat to beat
Absent: ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของ amplitude
Minimal: มีการเปลี่ยนแปลง 0-5 beat / min
Moderate: มีการเปลี่ยนแปลง 6- 25 beat/min
Marked: มีการเปลี่ยนแปลง-25 beatmin
Acceleration : การเพิ่มขึ้นของ FHR
≤32 wks. FHR สูงจากbaseline> 10 bpm. ระยะเวลา10 วินาที
≥ 32 wks. FHR สูงจากbaseline > 15bpm. ระยะเวลา15 วินาที
Deceleration : การลดลงของ FHR
1.ระยะตั้งครรภ์
ข้อบ่งชี้การท า NST
1.ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีภาวะแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์ : เบาหวาน ร่วมกับการตั้งครรภ์ ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการ ตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจาร่วมกับการตั้งครรภ์ โรคหัวใจ ร่วมกับการตั้งครรภ์ เป็นต้น
มีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ตั้งครรภ์แฝด
มีภาวะ Rh isoimmunization
อายุมากกว่า 35 ปี
มีประวัติทารกตายในครรภ์
1.Non stress test : NST เป็นการตรวจดูอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อทารกมีการ เคลื่อนไหว
Reactive = ปกติ
Preg. ≥ 32 สัปดาห์ จะมีFHR เพิ่มขึ้น(acceleration) > 15 ครั้ง/นาที นาน 15 วินาที เมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว โดยมีอย่างน้อย 2 ครั้งภายใน 20นาที และอยู่ใน baseline ระหว่าง 110 - 160 ครั้ง/นาที
ถ้าPreg. <32 สัปดาห์ จะมีFHR acceleration> 10 ครั้ง/นาที นาน 10 วินาทีเมื่อทารกมีการเคลื่อนไหวโดยมีอย่างน้อย 2 ครั้งภายใน 20 นาทีและอยู่ในระดับbaseline ระหว่าง 110 - 160 ครั้ง/นาที
การพยาบาล : แจ้งผลการตรวจให้สตรีตั้งครรภ์ทราบ
contraction stress testเป็นการตรวจดูการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจ ทารกเมื่อมดลูกหดรัดตัว
ผลลบ (negative) = ปกติ
มีการหดรัดตัวของมดลูก 3 ครั้ง ใน 10
นาที โดยไม่มีlate deceleration
ข้อห้ามในการตรวจวิธีนี้ ได้แก่
มีมดลูกรูปร่างผิดปกติ หรือมีรกเกาะต่ำ หรือมีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
มีครรภ์แฝด
มีประวัติเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
สตรีตั้งครรภ์ที่มีประวัติผ่าตัดการคลอดมาก่อน
ระยะคลอด
1)External fetal monitoring(EFM)
1.Early Deceleration : FHR ค่อยๆลดลงและกลับ เข้าสู่ Baseline ปกติ สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก สาเหตุ : ศีรษะของทารกถูกกด ส่วนใหญ่ จะเกิดในช่วงที่มีการเปิดของปากมดลูก4 ถึง 7 เซนติเมตร
2.Late Deceleration : FHR ค่อยๆลดลงและกลับ เข้าสู่ Baseline ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก เกิดขึ้น ตามหลัง กับ การหดรัดตัวของมดลูกที่สูงที่สุดพบในUtero-placental insufficiency
3.Variable deceleration : มีการลดลงของ FHR ต่ำกว่า baseline มากกว่า 15 bpm. เป็นเวลามากกว่า 15 วินาทีแต่น้อย กว่า 2 นาที โดย onset , ความลึก และระยะเวลา ไม่สัมพันธ์กับ การหดรัดตัว ของมดลูก เกิด จากภาวะที่สายสะดือทารกถูกกด (cord compression)
2)Internal fetal monitoring
การตรวจทางชีวเคมี (Biochemical assessment)
1.คัดกรองจากเลือดมารดาหาระดับแอลฟาฟิโตโปรตีน (maternal serum alpha- fetoprotein screening : MSAFP)
2.ดูดเนื้อเยื่อรก ( Chorionic villus sampling:CVS) เพื่อศึกษาโครโมโซม
เก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์ (Fetal blood sampling) ตรวจหาโรคทางพันธุกรรม
4.การตรวจระดับ Estriol (E3)ในเลือและปัสสาวะจากมารดา
การตรวจ Human placenta lactogen
เจาะน้ำคร่ำ - ตวจหาโครโมโซม เพื่อประเมินDown syndrome
การพยาบาลหลังคลอด
การประเมินสุขภาพของมารดาในระยะ24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
1.1 Body temperature and blood pressure ถ้ามีไข้ต่ำ ๆ ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดถือว่าปกติอาจเกิดได้จากขาดน้ำสูญเสียพลังงานเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บจากการคลอดพยาบาลควรกระตุ้นให้มารดาได้ดื่มน้ำมาก ๆ พักผ่อนเพียงพอและประเมิน V / S ซ้ำทุก 4 ชั่วโมงจนกว่าจะปกติ
1.2 Belly and fundus สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกหลังคลอดต้องมีการหดรัดตัวอยู่เสมอกลมแข็งถ้าไม่หดรัดตัวหรือหดรัดตัวไม่ดีควรคลึงบริเวณยอดมดลูกทันที
1.3Bleeding and Lochia -ภายใน 24 ชม.แรกหลังคลอด สิ่งที่ถูกขับออกทางช่องคลอด ส่วนใหญ่จะเป็นเลือดสีแดงสด เรียกว่า Bleeding ออกจาก placenta site - หลัง24 ชม.ไปแล้วจะเรียกน้ำ คาวปลา Lochia
1.4 Bottom-สังเกตแผลฝีเย็บว่ามี Hematoma -การประเมินฝีเย็บโดยใช้หลัก REEDA R = Redness E = Edema E = Ecchymosis D = Discharge A = Approximation
1.5 Bladder มารดาหลังคลอดต้องปัสสาวะภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังคลอดมิเช่นนั้นอาจทำให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดควรกระตุ้นให้มารดาถ่ายปัสสาวะเป็นระยะ ๆ หรือภายใน 2-3 ชม.
1.6 Body condition ประเมินสภาพทั่วไปของมารดาเกี่ยวกับภาวะซีดดูเยื่อบุตาริมฝีปากเล็บ capillary refill มารดาที่มีภาวะซีดมากอาจมีการเสียเลือดต้องดูระดับ Hb, Hct ร่วมด้วยเฝ้าระวังภาวะช็อค
1.7 Background-ประเมินภูมิหลังคลอดของมารดาเกี่ยวกับประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดเช่นการที่มีน้ำเดินในระยะก่อนคลอดยาวนานมารดาอาจมีโอกาสเกิดการติดเชื้อได้ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอดในครรภ์ก่อนเช่นตกเลือดครรภ์ปัจจุบันก็อาจเสี่ยงต่อการตกเลือดได้
การพยาบาลมารดาในระยะ 24 ชม. แรกหลังคลอด
1 Breast and lactation
พยาบาลต้องประเมินเกี่ยวกับลักษณะหัวนมเต้านมถ้าหัวนมมีความผิดปกติแนะนำให้มารดาแก้ไขด้วย Hoffman's maneuver ประเมินลักษณะและปริมาณน้ำนมว่าทารกสามารถดูดได้หรือไม่ปริมาณเพียงพอหรือไม่ถ้าเพียงพอขณะที่ทารกดูดข้างหนึ่งอีกข้างหนึ่งจะไหล-ประเมินหัวนมแตกอาจใช้ nipple shield ครอบ
ถ้ามีอาการคัดตึงจาการคั่งของเลือดและน้ำเหลืองให้มารดาประคบร้อนสลับเย็นและห้ามบีบให้ทารกดูดบ่อยๆทุก 2-3 ชม.
2 Blues
ประเมินว่ามารดาสามารถปรับตัวต่อบทบาทมารดาได้หรือไม่ใน 1-2 วันแรกเป็นระยะที่มารดามีพฤติกรรมพึ่งพาสนใจ แต่ความต้องการของตนเองมากกว่าดังนั้นพยาบาลควรมีส่วนในการช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆของมารดาเช่นการดูแลทารกถ้ามารดาไม่พร้อมเลี้ยงทารกอาจนำไปเลี้ยงให้หลังจากนำมาดูดนมมารดาและเปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึกอธิบายให้สามีและครอบครัวได้เข้าใจถึงความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ของมารดา
2.3 Bowel movement
ใน 2-3 วันหลังคลอดมารดาอาจมีอาการท้องผูกทำให้ไม่สุขสบายได้และถ้ามารดาเบ่งถ่ายแรง ๆ อาจทำให้แผลฝีเย็บแยกได้ดังนั้นควรแนะนำให้มารดาดื่มน้ำมาก ๆ รับประทานอาหารที่มีกากใยและไม่เบ่งถ่ายอุจจาระแรงถ้าท้องผูกมากอาจให้ยาเหน็บหรือสวนอาจาร
2.4 Baby
ประเมินทารกตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้าและสังเกตความผิดปกติต่างๆของทารกและให้การพยาบาลตามความต้องการของทารก
2.5 Bonding and attachment
ประเมินความผูกพันและสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกพยาบาลเป็นบุคคลที่มีความสำคัญในการส่งเสริม bonding ระหว่างมารดาและทารกโดยนำทารกมาดูดนมมารดาภายใน 30-45 นาทีหลังคลอด (sensitive period) ส่งเสริมให้มารดามีโอกาสสัมผัสทารกโอบกอดและจัดให้มารดาและทารกได้อยู่ในห้องเดียวกัน (rooming-in)
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
1 ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
2 ส่งเสริมความสุขสบายและบรรเทาอาการเจ็บปวด
3 ส่งเสริมการลุกจากเตียงเร็ว
4 ภาวะโภชนาการและการขับถ่าย
5 การบริหารร่างกาย
6 ส่งเสริมความสำเร็จในการให้นมบุตร
7 ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของมารดาและส่งเสริมสัมพันธภาพ
การดูแลทารกแรกเกิด (การประเมินapgar score การตรวจร่างกายและการดูแลทารกแรกเกิด)
การประเมินapgar score
อาการแสดง 5 อย่าง
การตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น(G)
คะแนน 0 = ไม่มีการโต้ตอบ , คะแนน 1 = มีการเปลี่ยนแปลงทางสีหน้า ,คะแนน 2 = ไอหรือจาม
ความตึงตัวขิงกล้ามเนื้อ (A)
คะแนน 0 = เนื้อตัวอ่อน ปวกเปียก , คะแนน 1 = แขน ขา งอได้เล็กน้อย ,คะแนน 2 = เคลื่อนไหวดี
อัตราการเต้นของหัวใจ(P)
คะแนน 0 = ไม่มี , คะแนน 1 = ต่ำกว่า 100 ,คะแนน 2 = มากกว่า 100
การหายใจ(R)
คะแนน 0 = ไม่มี , คะแนน 1 = ช้า ไม่สม่ำเสมอ ,คะแนน 2 = ร้้องเสียงดัง
สีของผิวหนัง(A)
คะแนน 0 = เขีวซีดตลอดทั้งตัว , คะแนน 1 = ตัวสีชมพู แขขาเขียว ,คะแนน 2 = สีชมพูตลอดทั้งตัว
แปลผลคะแนน Apgar score
คะแนน 8-9 = ทารกปกติดี
คะแนน 5-7 = ทารกขาดออกซิเจนเล็กน้อย
คะแนน 3-4 = ทารกมีการขาดออกซิเจนระดับปานกลางและมีความเป็นกรดมากกว่า
คะแนน 0-2 = ทารกมีการขาดออกซิเจนอย่างมาก มีความเป็นกรดสูง
ประกอบด้วยอาการแสดง 5 อย่างซึ่งปกติจะประเมินใน 1 และ 5 นาทีแรกเกิด บางแห่งอาจทำซ้ำใน 10 นาทีแรกเกิดแต่ละอาการจะประเมินตามลักษณะที่เกิดขึ้นโดยให้คะแนน 0,1 และ 2 โดยมีคะแนนรวมทั้งหมด 10
การตรวจร่างกาย (ปกติ)
ลักษณะทั่วไป : ศีรษะโตเมื่อเทียบกับลำตัว นน.เฉลี่ย 3200 g. ความยาว 50 ซม. ขนาดรอบศีรษะ 33-35 ซม. รอบทรวงอก 31ซม. ผิวหนังสีชมพู มีcutis marmorata, acrocynosis, Mongolian
ศีรษะและใบหน้า : caput succedaneum ใบหน้า 2 ซีกจะเหมือนกัน เยื่อบุตา ใบหู milia, Epstein pearl คอสั้น ดูกล้ามเนื้อ sternomastoid คลำ กระดูกไหปลาร้า
บริเวณทรวงอก : อัตราการหายใจ40-60 ครั้ง/นาทีไม่สม่ำเสมอ หายใจแบบ Cheyne-Stokes และหยุดหายใจเป็นพักๆ (Periodic breathing)
ใบหน้า: ค่อนข้างกลม เคลื่อนไหวเท่ากันทั้ง 2 ข้างเมื่อร้อง
ตา : มี ลูกตา เลนส์ตาใส เยื่อตาขาวสะอาด
จมูก : แบน แคบ เล็กน้อย
หู : อยู่ระดับหางตา
ปาก : มุมปากอยู่ ในระดับ เดียวกัน ไม่มีฟัน เพดานเรียบ
คอ : ค่อนข้างสั้น ไม่มีปีก (Web) ที่คอ ต่อมธัยรอยด์ไม่โต
หรวงอก : รูปร่างกลม สมมาตรกัน ไม่บุ๋ม ไม่โป่งนูน หรือแบน ราบข้างใดข้างหนึ่ง
บริเวณท้องและอวัยวะสืบพันธุ์ : ท้องอืดทำให้มีการหายใจลำบาก ท้องแฟบควรนึกถึงไส้เลื่อนกระบังลม ดูสายสะดือ และจำนวนของหลอดเลือดแดง umbilical อาจคลำพบตับ ม้ามและไตได้ ควรปัสสาวะภายใน 24 ชม. เพศชาย : อัณฑะลงมาอยู่ ในถุงอัณฑะทั้ง2 ข้าง เพศหญิง : labia majora ชิดกันทั้ง 2 ข้าง
ตรวจแขนขา มือ-เท้า : อาจพบเท้าปุก ข้อสะโพกเคลื่อนหรือไม่ในรายคลอดยาก ความยาวของขา การเหมือนกันของ gluteal foldจำนวนนิ้วมือ นิ้วเท้า ลายฝ่าเท้า 2 ใน 3 ของฝ่าเท้า
หน้าท้อง : ค่อนข้างกลม นุ่ม โป่งนูน เล็กน้อย มีกล้ามเนื้อหน้าท้อง ปกคลุม
ผิวหนัง : สีชมพู ปลายมือปลายเท้าอาจเขียวได้ มีความตึงตัวดี เรียบดื ยืดหยุ่น ไม่มีผื่นหรือตุ่ม
การตรวจทางระบบประสาท
moro reflex , tonic neck reflex , placing reflex, stepping reflex, rooting reflex, landau reflex , palmar grasp reflex , plantar grasp reflex, babinski reflex
การดูแลทารกแรกเกิด
การพยายาบาลทารกแรกเกิด
การพยาบาลทารกแรกเกิดมีหลักสำคัญในระยะแรกคือให้การช่วยเหลือทางด้านการหายใจการให้อาหารที่เพียงพอ การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การป้องกันการติดเชื้อ และการสร้างสรรค์สายสัมพันธ์ระหว่างแม่ลูกโดยเร็วที่สุด
การพยาบาลทารกในระยะห้องคลอด
เมื่อทารกเกิดควรให้ทารกนอนศีรษะต่ำหรือตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง ดูดน้ำคร่ำ เสมหะและเลือดออกจากปากจมูกและคอ โดยลูกสูบยางแดงหรือเครื่องดูดเสมหะขณะเดียวกันให้เช็ดตัวทารกซึ่งเปียกน้ำคร่ำด้วยผ้าที่แห้งและอุ่นทั้งนี้รวมทั้งศีรษะซึ่งเป็นบริเวณที่มีการไหลเวียนของเลือดดีมากเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกาย
ถ้าทารกหายใจดี เป็นปกติควรให้นอนตะแคงและหัวต่ำประมาณ 30 องศาต่อไปอีก 6-12 ชั่วโมงเพื่อให้น้ำและเสมหะที่ยังค้างอยู่ในทางเดินหายใจไหลออกมาได้สะดวกห่อตัวด้วยผ้าที่อบอุ่นและจัดให้นอนในเตียงที่อยู่ใต้ radiant warmer เพื่อควบคุมอุณหภูมิของทารกให้อยู่ระดับ 36-37 องศาเซลเซียสเกิด
ป้องกันการติดเชื้อ : alcohol 70% เช็ดสะดือ
1% AgNo3 หยอดตา, terramycin ointment, tetracycline ป้ายตา
ป้ องกันภาวะเลือดออก : ฉีด Vit. K 1 มก.
(นางสาวจินตนา จำปา 180101039)