Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลหลังคลอด
-
-
-
เต้านม
ส่วนประกอบของน้ำนมมารดา แบ่งเป็น 3 ระยะ
1. ระยะน้ำนมเหลือง (Colostrum) มิโปรตีนสูง ภูมิคุ้มกันสูง (IgA) มีฤทธิ์เบีนยาระบายอ่อนๆ
2. ระยะน้ำนมปรับเปลี่ยน (Transitional milk) มีระดับไขมัน น้ำตาลแล็คโกส วิตามินละลายน้ำ พลังงานสูง
3. ระยะน้ำนมแท้ (True milk or mature milk) เป็นนมในระยะ 2 weeks หลังคลอดไปแล้ว สีขาวข้น มีน้ำ 87%
-
อุณหภูมิ
1. Reactionary Feverเกิดจากการขาดน้ำ เสียพลังงาน อุณหภูมิกายประมาณ 37.8 - 38 องศาเชลเชียส
2. Milk Fever เกิดจากนมคัด (Breast engorement)พบวันที่ 3 - 4 หลังคลอด อุณหภูมิกาายสูงกว่า 38องศาเซลเซียสและจะหายไปใน 24 ชั่วโมง
3. Febrile Fever มีการติดเชื้อเกิดขึ้นในร่างกายมารดา อุณหภูมิกายจะสูงกว่า 38องศาเซลเซียสติดต่อกัน 2 วันหรือมากกว่า
การเปลี่ยนแปลงของระบบผิวหนัง
เมื่อการตั้งครรภ์สิ้นสุดลง ฝ้าบริเวณใบหน้า (Chloasma gravidarum) จะหายไปแต่สีเข้มที่ลานนม เล้สนกลางหน้าท้อง (Linea nigra) และรอยแตกของผิวหนังบริเวณหน้าท้อง (Striae gravidarum) จะไม่หายไปแต่อาจสีจางลงเป็นสีเงิน
ระยะเวลาตั้งแต่หลังทารกคลอดครบไปจนกระทั่งระบบต่างๆของร่างกายกลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์ถือเอาระยะ 6 weeksหลังคลอด แบ่งได้ 3 ระยะ
1.ระยะหลังคลอดทันที ( Immediate postpartum) 24 ชั่วโมงหลังคลอด
2.หลังคลอดระยะต้น (Early postpartum period ) วันที่ 2-7 หลังคลอด
3.หลังคลอดระยะปลาย ( Late postpartum period ) สัปดาห์ที่ 2-6 หลังคลอด
-
การเปลี่ยนแปลงระบบกล้ามเนื้อ และโครงกระดูก 1-2 วันแรกจะมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อโดยเฉพาะแขน ขา ไหล่ คอ หลังคลอดโปรเจสเตอโรนลดลงทำให้ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง ช่วงตั้งครรภ์ฮอร์โมนรีแลคซิน (relaxin) ทำให้บริเวณข้อต่างๆของร่างกายมีการยืดขยาย มีการเคลื่อนไหวของข้อต่อมากเกินไป จะกลับมาแข็งแรงมั่นคงเมื่อ 6-8 weeks หลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางระบบย่อยอาหาร
มักอยากอาหาร และการะหายน้ำช่วง 2-3 วันแรก มารดาไม่กล้าเบ่งเพราะกลัวแผลแยก ทำให้เกิดอาการท้องผูกได้
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจ และหลอดเลือด
หลังคลอดจะมี cardiac output เพิ่มขึ้น
ส่วนประกอบของเลือด
Hemoglobin และ Hematocrit ลดลลง White blood cell เพิ่มขึ้น(อาจสูงถึง 20,000-25,000 cells/cumm)
ความดันเลือด และชีพจร
อาจเกิดอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด เป็ฯลมขณะเปลี่ยนท่าทันทีทันใด เรียกว่า Orthostatic hypotension เนื่องจากความดันภายในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
การหายใจ
ระยะหลังคลอดปอดขยายได้ดีขึ้น หายใจได้สะดวกขึ้น
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ bladder full อาจทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีเพราะมดลูกถูกเบียด เป็นสาเหตุการตกเลือดหลังคลอดได้ จึงกระตุ่นให้ถ่ายปัสสวาะทุก 4- 6 ชั่วโมง
การทำงานของไต (Renal function) ปลายสัปดาห์แรกหลังคลอดยูเรียไนโตรเจนในเลือด (Blood urea nitrogen) จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการแตกตัวของใยกล้ามเนื้อมดลูก
น้ำหนักลด (Weight loss) ตอนตั้งครรภ์น้ำหนักเพิ่มขึ้น 10-12 kg. เมื่อทารก และรกคลอด ้ำหนักตัวจะลดลง 4.5-5.5 kg. สัปดาห็แรกน้ำหนักจะลดอีก 2-4 kg. จนถถึง 6 สัปดาห์ หลังคลอดน้ำหนักจะคงที่