Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจส่วนบน -…
การจัดการและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจส่วนบน
เลือดออกทางจมูกหรือเลือดกําเดาไหล (Epistaxis)
ตําแหน่งที่พบเลือดกําเดาไหล
เลือดออกจากด้านหน้าของโพรงจมูก
เลือดออกจากด้านหลังของโพรงจมูก
เลือดออกจากด้านบนของโพรงจมูก
สาเหตุ
สาเหตุเฉพาะที่
การระคายเคือง หรือบาดเจ็บบริเวณจมูก
การอักเสบในโพรงจมูก
ความผิดปกติทางกายวิภาค
เนื้องอก
ความผิดปกติของหลอดเลือดที่มาเลี้ยงจมูก
สาเหตุจากโรคอื่นๆ
โรคเลือดชนิดต่าง ๆ
โรคของหลอดเลือด
โรคติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
จะมีเลือดออกทั้งชนิดออกช้าๆ แบบซึมและทั้งแบบที่ไหลแรง
การรักษา
Anterior Nasal Packing
Posterior Nasal Packing
Arterial ligation คือ การผูกหลอดเลือดแดงเพื่อควบคุมภาวะเลือด
การพยาบาล
ก่อนทําการรักษา
จัดท่าศีรษะสูงก้มหน้าเล็กน้อย
ประเมินอาการ
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ถ้าเลือดออกไม่มาก ให้ผู้ป่วยก้มหน้าลง สอนให้ผู้ป่วยใช้นิ้วชี้และหัวแม่มือบีบที่ปีกจมูกทั้งสอง
ข้างให้แน่น นาน 5- 8 นาทีให้ผู้ป่วยหายใจทางปากแทน
ประคบเย็นบริเวณสันจมูกเพื่อช่วยให้หลอดเลือดตัวทําให้เลือดออกน้อยลง 10 นาที
ถ้ามีเลือดไหลลงคอ ให้บ้วนใส่ภาชนะเพื่อประเมินจํานวนเลือด และป้องกันการ
อาเจียน
หลังทําการรักษา
กรณีที่ ทําการรักษาด้วยวิธีจี้ (cautery)
ให้ใช้ยาปฏิชีวนะตามแพทย์สั่ง ซึ่งมักเป็นขี้ผึ้งป้ายแผลที่ถูกจี้จนกว่าจะหาย
ห้ามผู้ป่วยสั่งน้ํามูกหรือแกะสะเก็ดแผลในจมูกอย่างน้อย 1 สัปดาห์
แนะนําผู้ป่วยให้อ้าปากเวลาไอ จาม
กรณีที่ทําการรักษาด้วยการใส่ Nasal packing
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ให้กลั้วคอด้วยน้ําเกลือ NSS บ่อยๆ
ผู้ป่วยต้องหายใจทางปาก
ถ้ามีอาการบวมบริเวณจมูกมากให้ประคบด้วยความเย็นและให้ยาแก้ปวดรวมทั้งจัดท่านอนศีรษะ
ประเมินอาการเลือดออก
ถ้ามีเลือดออกอยู่เรื่อยเรื่อยควรตรวจเช็คดูค่า. Hb Hct ถ้าพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทันที
ริดสีดวงจมูกหรือเนื้องอกในจมูกหรือติ่งเนื้อเมือกจมูก (Nasal Polyp)
สาเหตุ
การอักเสบเรื้อรังและการติดเชื้อซึ่งกลับเป็นซ้ำบ่อยๆ
เกิดการบวมของเยื่อบุ
ความผิดปกติของการตอบสนองของระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของหลอดเลือดและภาวะความไวเกินของหลอดเลือด
ความผิดปกติของกระแสลมที่ผ่านเข้าไปบริเวณซึ่งเป็นต้นตอของริดสีดวงจมูก
อาการ
จะเป็นก้อนเนื้อนิ่ม ไม่มีเซลล์มะเร็ง มีลักษณะเหมือนหยดน้ําหรือเมล็ดองุ่น
วิธีการรักษา
การผ่าตัด
การทําผ่าตัดริดสีดวงจมูกและไซนัสด้วยการใช้กล้อง (Functional Endoscopic Sinus
Surgery; FESS)
การผ่าตัดไซนัสโดยการเปิดแผลด้านนอก (external approach)
การใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์
ป้องกันการเกิดซ้ำ
ฉีดยากระตุ้นภูมิคุ้มกัน ตามนัด
การล้างโพรงจมูกด้วยน้ําเกลือ NSS
ให้ยา Prednisolone นาน 5-7 วัน โดยให้หลังผ่าตัดแล้ว 1-2 สัปดาห์ ร่วมกับให้ยากลุ่ม
สเตียรอยด์ พ่นจมูกด้วย
ไซนัสอักเสบหรือโพรงอากาศข้างจมูกอักเสบ (Sinusitis )
ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน (Acute sinusitis)
สาเหตุ
มักเกิดหลังเป็นหวัด หรือ ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
พยาธิสภาพ
หากมีการอุดตันของช่องระบายของโพราอากาศข้างจมูก หนองที่ขังอยู่ทําให้ออกซิเจนมาเลี้ยงโพรงอากาศลดลง ส่งให้มีการอักเสบติดเชื้อมากขึ้น
อาการและอาการแสดง
คัดแน่นจมูก
น้ํามูกเหลืองเขียวข้น
การรักษา
การรักษาลดอาการปวด ลดอาการบวมของเยื่อบุจมูกและเยื่อบุไซนัสหรือให้ยาหยอดหรือยาพ่นที่ทําให้
หลอดเลือดหดตัว Antibiotic
ไซนัสอักเสบเรื้อรัง (Chronic sinusitis)
สาเหตุ
การรักษาไซนัสอักเสบเฉียบพลันไม่ได้ผล หรือไม่ได้รักษา
อาการ
คัดแน่นจมูก น้ํามูกเหลืองเขียวและมีเสมหะไหลลงคอ หูชั้นกลางอักเสบ
การรักษา
ขจัดสาเหตุของโรค
ขจัดแหล่งของการติดเชื้อ
ให้การถ่ายเทของน้ําหรือหนองในไซนัสดีขึ้น
Antihistamine / Decongestant
การเจาะล้างไซนัสและการผ่าตัด
ให้ยาปฏิชีวนะ
หลีกเลี่ยงจากควันต่างๆ ไอระเหยของสารเคมี อากาศร้อนหรือเย็นจัด
ลดอาการไอ โดยใช้ยาละลายเสมหะ และดื่มน้ํามากๆ
ให้ความรู้เกี่ยวกับพยาธิสภาพและการรักษา
การเจาะล้างไซนัส (Maxillary sinus irrigation) การเจาะเข้าไปในโพรงไซนัสข้างจมูกแล้งล้างเอาหนองออก
การผ่าตัดไซนัส
การทําระบายโพรงอากาศ Maxilla
ผ่าตัดโพรงอากาศ ethmoid (Ethmoidectomy)
การผ่าตัดระบายโพรงอากาศ Frontal ( Frontal Sinus Trephination) เป็นการผ่าตัดผ่านบริเวณตรงกลางของขอบตาด้านบน
การผ่าตัดโพรงอากาศ Sphenoid (Sphenoidectomy and Sphenoidotomy or Sphenoidostomy)
การผ่าตัดโดยวิธี FESS ( Functional Endoscopic Sinus Surgery) เป็นการใช้กล้องส่อง
การผ่าตัดภายในช่องจมูก
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินภาวะขาดออกซิเจน แนะนําให้ผู้ป่วยดื่มน้ําบ่อยๆ และกลั้วคอด้วยน้ําเกลือ
ปราศจากเชื้อ
ประเมินการเสียเลือดโดยในผู้ป่วยที่ผ่าตัดอาจได้รับการกดหยุดเลือดไว้
ให้บ้วนออกไม่กลืนน้ําลาย
โดยประเมินอาการปวด อาจ
ใช้การประคบเย็นใน 24 ชม.แรกหลังผ่าตัด 48 ชม.
โดยประเมินอาการแสดงของการติด
เชื้อ อาการไข้ ปวดหัว การระบายหนอง สิ่งคัดหลั่ง
ทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis)
ทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน (Acute tonsillitis)
สาเหตุ
พบเชื้อ Streptococcus group A
พยาธิสรีรภาพ
ทําให้ต่อมทอนซิลบวมแดง บางครั้งมีหนอง
ที่เยื่อบุผิวถูกทําลาย เนื้อเยื่อของต่อมขรุขระเป็นหนอง มีกลิ่นเหม็น
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอมากเวลากลืน ไข้สูง หนาวสั่น รู้สึกแน่นในคอ บางครั้งปวดร้าวมาที่หู
บวม แดง มีหนองสีเหลืองๆ เป็นจุด
การพยาบาล
พักผ่อน ดื่มน้ําตามมากๆ ดูแลความสะอาดปากและฟัน ให้ยาปฏิชีวนะ
Tonsillectomy
มีการอักเสบมากกว่า 4 ครั้งต่อปี ต่อมทอนซิลโตมาก ต่อมอดีนอยด์โต
การพยาบาล
ประเมินความปวด แนะนําให้ประคบบริเวณ
ประเมินสัญญาณชีพ ความรู้สึกตัวเพื่อป้องกันอันตรายจากการดม
ยาสลบและอุดกั้นทางเดินหายใจจากการที่ไม่สามารถขับเอาเสมหะออกมาได้
โดยให้ผู้ป่วยอธิบายผู้ป่วยว่าอาจมีเลือดออก
ได้เล็กน้อยในวันแรก ควรสังเกตสี ปริมาณถ้ามากให้มาพบแพทย์
มะเร็งโพรงหลังโพรงจมูกหรือมะเร็งของช่องคอหลังโพรงจมูก
(Nasopharyngeal Carcinoma or Carcinoma of Nasopharynx or NPC)
เป็นเนื้อร้ายที่เกิดขึ้นที่หลังโพรงจมูก
ซึ่งอยู่บริเวณหลังจมูกเหนือเพดานอ่อน
อาการ
อาการที่คอ ผู้ป่วยอาจมีก้อนเนื้อ
อาการที่หูเช่น หูอื้อข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง ติดเชื้อที่หูแบบซ้ำ ๆ
อาการที่จมูก เช่น คัดจมูก เลือดกําเดาไหล เป็นต้น
อาการทางระบบประสาท เช่น รู้สึกผิดปกติที่ใบหน้าซีกใดซีกหนึ่ง
การรักษา
รังสีรักษา เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงเพื่อฆ่าเซลล์มะเร็ง ซึ่งเป็นการรักษาหลักของโรคนี้เนื่องจากได้ผล
การทําเคมีบําบัด เป็นการใช้ยาแบบเม็ดหรือยาแบบฉีดเข้าทางหลอดเลือดเพื่อทําลายเซลล์มะเร็ง
การผ่าตัด ทํา Radial Neck Dissection เมื่อให้รังสีรักษาแล้ว 4-6 สัปดาห์โดยทั่วไปแพทย์ไม่ค่อยใช้วิธีการรักษานี้ เพราะอาจจะทให้มีภาวะแทกซ้อนตามมา เช่นเลือดออก ติดเชื้อ เป็นต้น
Photodynamic Therapy (PDT) โดยใช้วิธีการฉีดสารสีเข้าไปทางหลอดเลือดดํา เพื่อให้แสงเลเซอร์เข้าไปบริเวณ cell มะเร็ง
มะเร็งกล่องเสียง (Laryngeal Cancer or Cancer of the Larynx)
สาเหตุ
การสูบบุหรี่
ดื่มสุรา แอลกอฮอล์
การอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุกล่องเสียง
มลพิษทางอากาศ การสูดดมอากาศที่เป็นพิษ
การติดเชื้อไวรัส
การฉายรังสีการรักษา
ฮอร์โมนเพศ
พยาธิสรีรภาพ
เกิดจากการได้รับการกระทบกระเทือนและระคายเคืองจากสารเคมี ฝุ่น ควัน การอักเสบบ่อยๆ จนเซลล์เยื่อบุมีการเปลี่ยนแปลงหรือการแพร่กระจายจากมะเร็งตําแหน่งอื่นๆ
อาการและอาการแสดง
เสียงแหบ มีอาการเสียงแหบนานกว่า 2 สัปดาห์
หายใจลําบาก
ปวดขณะกลืนอาหาร
กลืนลําบากและไอ
อาจมีไอเป็นเลือด
กลิ่นปากเหม็น
เจ็บบริเวณกล่องเสียง
มีก้อนที่คอทานอาหารได้น้อย
น้ําหนักตัวลด
การรักษา
การผ่าตัดกล่องเสียง (Laryngectomy) การรักษาโดยการผ่าตัดเป็นวิธีทางเลือกอันดับแรก
การฉายรังสี(Radiation therapy) เป็นการรักษาที่เหมาะสําหรับผู้ป่วยในระยะแรกเริ่ม สภาพร่างกายอ่อนแอและไม่เหมาะกับการผ่าตัด
การให้ยาเคมีบําบัด (Chemotherapy) เป็นการรักษาที่เหมาะสําหรับผู้ป่วยะยะลุกลามที่ไม่สามารถผ่าตัดได้
การใช้รังสีรักษาร่วมกับยารักษาตรงเป้า (Targeted therapy)
การใช้สารป้องกันมะเร็ง (Chemoprevention) ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษา
การใช้สารเพิ่มผลของรังสี(Radiosensitizers) ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษา
การพยาบาล
การประเมินการขาดออกซิเจน ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง บางรายอาจได้รับการใส่ท่อ tracheotomy tube ลักษณะสิ่งคัดหลัง จัดท่านอนศีรษะสูงกระตุ้นให้ deep breathing
พยุงบริเวณคอและศีรษะเวลาขยับ
ไม่ควรใส่สายNG-Tube เองถ้ามีการเลื่อนหรือดึงรั้งเพราะอาจเกิดการแทงทะลุแผลเย็บหลอดอาหาร
ประเมินความสามารถในการสื่อสาร จัดหาวิธีทางในการสื่อสาร เช่น การเขียน เป็นต้น
ในผู้ป่วยที่มีการเจาะคอ ให้ทําความสะอาดวันละ 2 ครั้งสอนวิธีการทําความสะอาด ในรายที่เสมหะมากให้สูดดมไอน้ําจากหม้อต้มน้ํา
ประเมินแผล สังเกตอาการแสดงของการติดเชื้อ ดูแลความสะอาดช่องปากและฟัน โดยกลั้วคอด้วยน้ํายาล้างปากหรือแปรงฟัน กระตุ้นให้รับอาการที่มีโปรตีนและแคลอรี่สูง