Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา - Coggle Diagram
การกำหนดมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
แนวคิดและหลักการ
ความหมายของมาตรฐานการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ2542
เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา
นอกจากนี้
มาตรฐานการศึกษาไม่ได้หมายถึงคุณภาพด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น
แต่หมายความรวมถึงผลผลิตทางการศึกษาที่เกิดกับตัวผู้เรียนรอบด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู และกระบวนการบริหารจัดการศึกษา
ประโยชน์ของมาตรฐานการศึกษา
ช่วยให้สามารถกำหนดเป้าหมาย
นโยบายและแนวทางการพัฒนาฯ
สามารถกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทาง
ในการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับ การตรวจสอบ
การนิเทศการติดตามและประเมินผล
เป็นข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
กับสถานภาพและความก้าวหน้า
แนวทาง
การกำหนดมาตรฐาน
ขั้นที่ ๑
เตรียมความพร้อมการกำหนดมาตรฐานการศึกษา
แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษา
(ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูคณะกรรมการสถานศึกษา
ตัวแทนผู้ปกครอง ชุมชน)
2.สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักถึง
ความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการศึกษาระดับต่างๆ
กระบวนการจัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ประโยชน์ของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นที่ 2
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ
มาตรฐานการศึกษา
ต้องมีข้อมูลสารสนเทศ
หลายส่วนประกอบการพิจารณา
ยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
นโยบายและจุดเน้นของเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดและภาค
จุดเน้น บริบท ความต้องการ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
ขั้นที่3
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาและเป้าหมายความสำเร็จ
สังเคราะห์ข้อมูลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ ที่ครอบคลุมคุณภาพ
ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน และสอดคล้องกับบริบทความต้องการ
เอกลักษณ์และอัตลักษณ์สถานศึกษา
คุณภาพ 3. ด้าน
คุณภาพผู้เรียน
คุณภาพการบริหารและการจัดการ
คุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เป้าหมายความสำเร็จที่ชัดเจน
ขั้นที่๕
ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษา
แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกรับทราบเพื่อร่วมกันขับเคลื่อน
และยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การกำหนดเป้าหมาย
1.วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา (SWOT Analysis)
โดยพิจารณาร่วมกับข้อมูลสารสนเทศ
ความสำเร็จของสถานศึกษาย้อนหลังอย่างน้อย ๓ ปี
2.ลักษณะของเป้าหมายที่ดีมีลักษณะ
ตามหลักSMART ดังนี้
Specific เป้าหมายต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจง
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
Measurable เป้าหมายควรวัดได้เป็นตัวเลข ประเมินค่า
เปรียบเทียบได้และใช้ติดตามประเมินผลได
Action oriented เป้าหมายต้องระบุถึงสิ่งที่จะดำเนินการ
และนำไปสู่การกำหนดโครงการและกิจกรรม
Realistic เป้าหมายต้องเป็นจริงได้ และต้องมีความท้าทาย
Timely เป้าหมายต้องมีกรอบระยะเวลาที่แน่นอน ชัดเจน
ไม่กำหนดยาวเกิน1ปี เช่น. สัปดาห์ เดือน
นอกจากนี้ สามารถพิจารณาจาก
ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (Benchmark)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในกลุ่มเดียวกัน
สถานศึกษาในระดับที่เหนือกว่ากลุ่มเดียวกัน
3.ระบุเป้าหมายเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพให้ชัดเจน
ระบุเป้าหมายเชิงปริมาณเป็นจำนวน ร้อยละ หรือค่าเฉลี่ย โดยใช้
ข้อมูลสารสนเทศที่ผ่านมาเป็นฐาน (Baseline)
นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีความสามารถในการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ได้
ระบุเป้าหมายเชิงคุณภาพ เช่น เพิ่มขึ้น สูงขึ้น ดีเลิศดีเยี่ยม
โรงเรียนจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
ตามความสนใจของนักเรียนทั้งด้านการศึกษาต่อ อาชีพ และงานอดิเรก
ขั้นที่4
พิจารณาให้ความเห็นชอบมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษาเสนอร่างมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ตรวจสอบทบทวน และเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา
พิจารณาให้ความเห็นชอบ