Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้สูงอายุในระยะท้ายของชีวิต, นางสาวชมพูนุช เนียมรุ่งเรือง เลขที่…
การพยาบาลผู้สูงอายุในระยะท้ายของชีวิต
การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุใกล้ตาย
บรรเทาอาการทุกข์ทรมาน
สนองความต้องการในด้านต่างๆ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้ตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
3.ประคับประคองให้ครอบครัวผู้ป่วยสามารถปรับตัวได้
บทบาทขของพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย 9 ประการ หรือ 9C
ความสามารถ (Competence)
ความเข้าใจ ความเห็นใจ (Concern)
ความรู้สึกสบาย (Comfort)
การติดต่อสื่อสาร (Communication)
การเยี่ยมของบุตรหลาน (Children)
ความสัมพันธ์ในครอบครัว (Cohesion)
ความร่าเริงแจ่มใส (Cheerfulness)
ความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง (Consistency)
การมีจิตใจที่สงบ (Calmness of mind, Equanimity)
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะใกล้ตาย
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ความต้องการอาหารและน้ำลดลง ทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
ระบบหายใจ (Respiratory system) หัวใจทำงานลดลง ส่งผลให้การฟอกเลือดที่ปอดลดลง ผู้ป่วยสูงอายุจะมีอาการหายใจล าบาก (Dyspnea)
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal system) การที่ผู้ป่ วยสูงอายุได้รับน้ำและสารอาหารลดลงประกอบกับสภาวะโรค มีผลทำให้กล้ามเนื้ออ่อนล้าลง สูญเสียความตึงตัวของ
กล้ามเนื ้อ
ระบบทางเดินอาหาร (Digestive system)การทำงานของทางเดินอาหารลดลง กล้ามเนื้อที่ใช้ ในการกลืนและ
กล้ามเนื้อระบบทางเดินอาหารหยุดทำงาน
ระบบการทำงานของไต (Renal system) ที่หัวใจทำงานลดลง ส่งผลให้ไตทำงานลดลง โดยทำให้การกรอง
ของเสียและมีปริมาณน ้าปัสสาวะลดลง สีเข้ม
ระบบประสาท (Neurologic system) เมื่อเลือดไปเลี ้ยงสมองลดลงและมีของเสียคั่งในสมอง ทำให้ผู้ป่วยสูงอายุจะเกิดอาการ
สับสน วิตกกังวล กระสับกระส่ายนอนหลับทั้งวันไม่ค่อยตื่น เรียกภาวะนี ้ว่า
Energy preservation state
การมองเห็นไม่ชัด ตามัว การได้ยินเสียงลดลงหรือหมดไป
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตวิญญาณ
เมื่ออยู่ในภาวะใกล้ตายซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม ภาวะบีบคั้นทางจิตวิญญาณ ขาดสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ถ้ามีคำบอกกล่าวจากคำบอกเล่าของบุคคลอื่น อาจมีความกลัวควายตายน้อยลง
ความต้องการด้านจิตวิญญาณ
ความต้องการความรักและความสัมพันธ์
(Love and connectedness)
ความต้องการค้นหาความหมายของชีวิตและความเจ็บป่ วย (Meaning of life and illness)
ต้องการขออโหสิกรรมหรือการให้อภัย (Forgiveness)
ต้องการการปฏิบัติตามความเชื่อทางศาสนา
(Religious practice)
ต้องการมีความหวัง (Hope)
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ
ด้านบวก มองเห็นถึงคุณค่า
ด้านลบ เสียใจ สิ้นหวัง
ปฏิเสธ โกรธ ต่อรอง ซึมเศร้า ยอมรับ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม
ความตายและภาวะใกล้ตาย และมองว่าเป็นข้อห้ามในกานำมาพูด ความไม่สบายใจจะลดลงเมื่ออยู่ไกลคนใกล้ตาย ภาวะผู้สูงอายุใกล้ตายถูกขาดการติดต่อ ผู้สูงภาวะใกล้ตายมีควาสัมพันธ์กับคนอื่นน้อย
การพยาบาล
ด้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพช่องปาก ประเมินสุขภาพช่องปาก จัดผู้ป่วยนอนตะแคง ดูดเอาเสมหะออก ทำควาสะอาดบ่อย ๆ จิบน้ำบ่อย ๆ ลดอาการแก้ปวด
อาการอ่อนล้า (Fatigue) ค้นนาปัจจัย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ รักษาสมดุลของการทำกิจกรรม การนวด การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
เบื่ออาหาร ให้ผู้ป่วยรับประทานน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง เปลี่ยนชนิดหรือรูปแบบอาหาร จัดสิ่งแวดล้อม ไม่ขัดจังหวะขณะที่ผู้ป่วยกำลังกินอาหาร ให้ยารักษาก่อนกิน
คลื่นไส้ อาเจียน (Nausea and vomiting) อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติฟัง ประเมินอาการและสาเหตุ เปลี่ยนอาหารให้ย่อยง่าย หลีกเลี่ยงอาหารที่เกิดแก๊ซ มัน ทอด หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำก่อนอาหาร และหลังอาหาร จัดท่านอนหัวสูง ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ภาวะขาดน ้า (dehydration) ถ้ากินทางปากไม่ได้ให้ใส่สายยาง ดูแลให้ได้รับน้ำให้เพียงพอ
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary incontinence) สอนผูู้ป่วยถึงความรู้ การดูแลอวัยวะสืบพันธ์ ขับถ่ายให้เป็นเวลา ขมิบ ทำความสะอาดสายสวยที่คาไว้
การดูแลแผลกดทับ ดูแลแผลให้แห้ง ทำความสะอสด ทางครีม หลีกเลี่ยงการนวดปุ่มกระดูก ผ้าปูที่นอนต้องตึง แห้ง ห้ามลากผู้ป่วยเวลาเคลื่อนย้าย เปลี่ยนท่าบ่อย ๆ ดูแลภาวะโภชนาการ ให้ความรู้ผู้ป่วยและญาติ
ภาวะหายใจลำบากในผู้ป่ วยระยะสุดท้าย (Dyspnea and death rattle) จัดท่านอนสูง จัดสิ่งแวดล้อม ดูดเสมหะควรนุ่มนวล ให้ออกซิเจนเมื่อขาดออกซิเจน ทำความสะอาดช่องปาก ยาลดสารคัดหลั่ง ดูแลแบบผสมผสาน อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ
ความปวด การให้ยาระงับปวด
อาการท้องผูก กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหว
การดูแลความสะอาดจมูกและตา ดูภายในรูจมูก หยอดน้ำตาเทียมเมื่อแห้ง
ด้านจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
การประเมินความต้องการและปั ญหาของผู้ป่ วย
พยาบาลควรมีบทบาทในการให้ข้อมูลที่เป็นจริงและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ เจ้าหน้าที่ทุกคน
การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย
ยอมรับและให้เกียรติผู้ป่วย้ให้ผู้ป่วยสึกมั่นใจในการติดต่อพูดคุยกับพยาบาลพูดคุยกับผู้ป่วยในเรื่องอื่นๆ ประกอบ มีความจริงใจ เทคนิคความเงียบให้ผู้ป่ วยได้ระบายความรู้สึกหรือความคับข้องใจ านึงถึงความหวังของผู้ป่ วย รักษาความลับ เคารพและปกป้องสิทธิ
จัดสภาพแวดล้อมให้เป็ นสัดส่วน
5.ให้ผู้ป่วยตระหนักในคุณค่าชีวิตและศักดิ์ศรีของตนเอง
ช่วยให้จิตใจจดจ่อกับสิ่งดีงาม
ช่วยให้ผู้ป่ วยปล่อยวางสิ่งต่างๆ
กล่าวคำอำลา
ผู้ป่ วยบางรายต้องการวางแผนชีวิตบั ้นปลายเกี่ยวกับธุรกิจส่วนตัว พยาบาลจึงต้องเป็นผู้ให้คำแนะนำ
ศาสนา
พุทธ มีการบอกหนทางให้แก้ผู้ที่กำลัจะตาย เป็นการพูดจูงใจให้เตรียมสติให้ผู้ที่กำลังจะตาย ให้นึกถึงกรรมดี
คริสต์ความตายไม่ใช่จุดสิ้นสุด แต่เป็นจุดเริ่มต้นสู่การไปพบพระเจ้า ความตายเป็นหนทางสู่ชีวิตใหม่ตามความเชื่อเรื่องการกลับฟื้นคืนชีพทำให้ชาวคาทอลิกไม่หวาดกลัวเรื่องนี้อีกต่อไปผู้ป่วยจะได้รับศีลเจิม ซึ่งเป็น
การโปรดศีลให้แก่ผู้ซึ่งกำลังป่วยหนักหรือใกล้จะเสียชีวิต
อิสลาม ความตายจึงไม่ใช่การสิ้นสุดชีวิตแต่เป็นการย้ายชีวิตจากโลกนี้ไปยังโลกหน้าที่สุขสบายกว่า ยั่งยืนกว่า ศาสนาอิสลามจึงสอนให้มนุษย์ระลึกถึงความตายอยู่เสมอจะได้ไม่ทำความชั่ว ให้ทำแต่ความดี
การดูแลประคับประคองจิตใจญาติผู้ป่ วย
ความต้องการด้านข้อมูล
ความต้องการด้านการดูแลผู้ป่ วย
ความต้องการเข้าถึงบุคลากรสุขภาพได้ง่าย
ความต้องการด้านการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่ วย
ความต้องการสนับสนุนทางอารมณ
ความต้องการด้านอื่นๆ
บทบาทหน้าที่ของผู้ดูแลผู้สูงอายุในระยะสุดท้าย
บุคลากรทางด้านการแพทย์ บรรเทาอาการเจ็บปวด การดูแล กายภาพ
นักสังคมสงเคราะห์และนักอาชีวบำบัด นผู้สนับสนุนและช่วยให้ มีสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุและสมาชิกใน
ครอบครัว ป้องกันแก้ไขปัญหาที่จะเป็นปัญหาสังคมต่อไป ปลอบใจ
จิตแพทย์และนักจิตวิทยา ให้คำปรึกษาด้านจิตใจ ปลอบใจ
บุคลากรด้านกฎหมาย
ผู้สนับสนุนด้านการเงิน ให้คำปรึกษาด้านการเงิน ช่วยเหลือเรื่องค่ารักษาพยาบาล ประสานงานสมาคมฌาปนกิจ
บุคลากรทางด้านศาสนา ให้คำปรึกษาแนะน าด้านจิตใจและจิตวิญญาณด้านพิธีการศพ
สมาชิกในครอบครัวของผู้สูงอายุำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในทุกๆ ด้าน ให้กำลังใจ
บุคลากรอื่นๆ ที่จำเป็น ดูแลผู้สูงอายุสนับสนุนด้านกำลังใจและให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุและครอบครัว
รูปแบบการบริการการดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้าย
การดูแลผู้ป่วยใน (In-Patient Unit)
การบรรเทาอาการเจ็บป่วยมากกว่าการรักษาพยาบาลการดูแลในระยะสั้นๆ
การดูแลที่บ้าน/โดยชุมชน
(Home-based/Community-based Care)
เน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
ความต้องการของคนในชุมชนและสอดคล้องกับวิถีชุมชน
. รูปแบบสถานพยาบาลกึ่งบ้าน
(Hospice Care)
สถานที่พำนักและให้บริบาลผู้ที่เจ็บป่วยอยู่ในระยะท้าย
ผู้มีชีวิตอยู่ ได้ในเวลาจำกัด
การควบคุมอาการเจ็บป่วยด้วยทีมสุขภาพ
(Symptom Control Team)
ทีมที่มีแพทย์เป็นผู้ควบคุมดูแลและรับผิดชอบผู้ป่วยทัั้งภายในโรงพยาบาลและภายในชุมชน เพื่อให้ผู้ป่วยสูงอายุได้ตายอย่างสมศักดิ์ศรี
บริการให้คำปรึกษาและแนะนำแก่ครอบครัวของผู้ป่วยสูงอายุ ปรับตัวทางด้านจิตใจไม่ได้ นักสงคมและนักจิตจะดูแลเรื่องนี้
การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) การดูแลสุขภาพในผู้ที่ต้องทุกข์ทรมานด้วยโรคที่คุกคามต่อต่อชีวิต โดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถเผชิญความเจ็บป่วยที่มีอยู่ได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้
การรักษาโรค (Disease management)
การดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ (Psychological and spiritual care
การควบคุมอาการไม่สุขสบาย (Symptom control)
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
(End of life care)
การดูแลผู้ปวยที่รู้ว่ามีระยะเวลาเหลือจำกัด
ส่วนใหญ่จะนับระยะเวลาประมาณ 6 เดือนก่อนเสียชีวิต
การดูแลผู้ป่วยช่วงใกล้เสียชีวิต (Terminal care)
เป็นการดูแลผู้ป่วยช่วงใกล้เสียชีวิต
คือ ประมาณ 1 สัปดาห์สุดท้าย หรือ
เรียกช่วงนี้ว่าระยะใกล้ตาย (Dying)
ความแตกต่างของ Hospice care กับ Palliative care
Hospice care การรักษาคุณภาพชีวิตเป็นหลักชีวิตอยู่ได้ไม่เกิน 6 เดือน
Palliative care
ไม่คำนึงถึงว่าผู้ป่วยจะมีชีวิต
เหลืออยู่อีกนานเท่าไร
เน้นการดูแลประคับประคอง
อาการ
ความหมายของผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิตมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 6 เดือน หรือน้อยกว่า
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ที่หมดหวังเป็นโรคที่ไม่สามารถจะรักษาให้หายได้และไม่มีโอกาสที่จะใช้เวลาที่เหลือ
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ป่วยใกล้ตาย
ผู้ป่วยที่หมดหวังจะหายจากโรค
แนวคิดของการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
องค์การอนามัยโลกให้ควาหมาย
ดูแลคุณภาพชีวิตของทั้งผู้ป่วยและครอบครัว แบบองค์รวม
จุดเน้นในการดูแล
2.การดูแลแบบองค์รวม
มีความต่อเนื่องในการดูแล
เป็นการดูแลแบบเป็นทีม
เน้นส่งเสริมระบบสนับสนุนการดูแล
เป้าหมายในการดูแลเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยสูงอายุเสียชีวิต
บันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง แจ้งให้ผู้ป่วยและญาติทราบทุกครั้ง และใช้โอกาสนี้พูดคุยและให้กำลังใจญาติ
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวลตามแผนการพยาบาลและแผนการรักษา
แพทย์ พยาบาล และญาติผู้ป่วยร่วมปรึกษาหารือกัน และให้ญาติเป็นผู้ตัดสินใจในการให้แพทย์ช่วยฟื้นคืนชีพหรือไม่
จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้อยู่กับญาติตามลำพัง
เมื่อความดันโลหิตเริ่มต่ำมาก พยาบาลจะแนะนำให้ญาติผู้ป่วยบอกทางให้ผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยจากไปพยาบาลกล่าวแสดงความเสียใจกับญาติผู้ป่วย
พยาบาลควรกระทำด้วยความนุ่มนวล สมศักดิ์ศรี
ดูแลจัดสภาพผู้ป่ วยและสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดีก่อนที่จะให้ญาติเข้าเยี่ยม
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ช่วยเหลือผู้ป่วยก่อนตาย ควรถอดออกจากผู้ป่วย
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สุขสบายคล้ายผู้ที่กำลังนอนหลับ
ทำความสะอาดร่างกาย
หลังดูแลผู้ป่วยเรียบร้อยแล้ว ควรอนุญาตให้ญาติเยี่ยมโดยจัดให้เป็นส่วนตัว และให้เวลาแก่ญาติเพื่อบอกลาผู้ป่ วย
เขียนใบมรณะบัตร พร้อมทั้งอธิบายขั้นตอนต่างๆ ตามกฎหมาย แนะนำญาติเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการในการรับศพออกจากโรงพยาบาล การ
แจ้งตาย (ซึ่งต้องแจ้งการตายภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่เวลาตาย)
การเตรียมรับวาระสุดท้ายของชีวิต
ความหมายของความตาย
การแพทย์
ความตายของสมอง
(brain death)
ศาสนาพุทธ
ไม่สามารถฟื้นกลับมาได้อีกเกิด
แก่ เจ็บ ตายเป็นเรื่องธรรมดา
การเตรียมตัวตายอย่างมีสต
ศาสนาคริสต์
ร่างกายและวิญญาณแยกออกจากกัน
มีความเชื่อเรื่องการกลับฟื้นคืนชีพภายหลังความตาย
ศาสนาอิสลาม การกลับสู่ความเมตตาของพระอัลเลาะห์มิใช่การดับสูญหรือการสูญเสีย แต่เป็นการเคลื่อนย้ายสถานที่
การตายดี
ปลอดจากความทุกข์ทรมานที่สามารถหลีกเลี่ยงได้
สิทธิการตาย
ไม่รับบริการทางการแพทย์
สติสัมปชัญญะดี สามารถทำหนังสือแสดงเจตนาตามมาตรา 12 ได้ด้วยตนเอง
แจ้งให้ คนในครอบครัว ญาติมิตร คนใกล้ ชิด รับทราบเรื่องการทำหนังสือดังกล่าว
แพทย์ พยาบาล ที่ดูแลผู้ป่วยตามหนังสือแสดงเจตนาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
แพทย์ พยาบาลควรให้ข้อมูลตามความเป็นจริง
จัดท าแบบฟอร์มหนังสือแสดงเจตนา
อธิบายขั้นตอนการทำหนังสือแสดงเจตนา
ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สูงมากในการรักษาที่ไม่จ าเป็น
สื่อสารล่ำลาคนในครอบครัว
ประโยชน์การทำหนังสือแสดงเจตนา
ช่วยลดข้อขัดแย้งระหว่างแพทย์และญาต
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายไม่ต้องทุกข์ทรมาน
การจัดการวาระสุดท้ายของชีวิต
การเตรียมตัวด้านร่างกาย (Physical preparation)
การเลือกวิธีการรักษาทางการแพทย์
การเลือกสถานที่สำหรับพักรักษาตัว
การเลือกสถานที่ตาย
การบริจาคอวัยวะของร่างกาย
การวางแผนเกี่ยวกับการจัดงานศพของตน
การเตรียมตัวด้านจิตใจ (Psychological preparation)
การตระหนักว่าความตายสามารถเกิดขึ้นได้ทุกขณะ
การเลือกผู้ให้การดูแลตนเองในภาวะใกล้ตาย
การพร้อมที่จะรับทราบความจริงจากแพทย์
การพูดคุยกับญาติหรือเพื่อน
การปลอบโยนและให้กำลังใจแก่ผู้ที่มีความเศร้าโศก
การใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ด้วยการเสริมสร้ างคุณค่าและประโยชน์
การเตรียมตัวด้านจิตวิญญาณ (Spiritual preparation)
การขออโหสิกรรมและการให้อภัย โดยมีสิ่งยึดเหนี่ยวของจิตใจ
การเดินทางไปยังสถานที่ที่มีความสำคัญต่อตน
การตั้งความหวังไว้ว่าตนจะพบกับความตายที่ปราศจากความเจ็บปวด
การปฏิบัติตามความเชื่อทางศาสนาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์
เล่าเรื่องราวอดีตให้ผู้อื่นฟัง
สนทนากับสมาชิกในครอบครัว
มองสิ่งของอันเป็นที่รักให้แก่ผู้อื่น
ระลึกถึงความหลังทบทวนชีวิต
การเตรียมตัวด้านสังคม (Social preparation)
การสนทนาเรื่องสุขภาพของตนและความตายของตนที่ต้องเกิดขึ้นในอนาคต
การปรึกษาหารือกับสมาชิกในครอบครัว
ควรมีการสนับสนุนให้เกิดสัมพันธภาพในสังคม
มีการเสริมสร้างสัมพันธภาพของตนและครอบครัว
การสนทนากับสมาชิกในครอบครัวเรื่องชีวิตและความหมายของความตาย
นางสาวชมพูนุช เนียมรุ่งเรือง เลขที่ 13 62126301015