Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4จิตวิทยาการศึกษา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4จิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยา
จิตวิทยา เป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ เพื่อหาหลักและกฎเกณฑ์ในการอธิบายพฤติกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีในห้องปฏิบัติการและตลอดระยะเวลาของการศึกษาทางจิตวิทยาที่ผ่านมาได้มีการคิดค้นทฤษฎีมากมายที่พยายามอธิบายและคาดคะเนเหตุผลในการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์
จิตวิทยาการศึกษา
เป็นการศึกษาหาความรู้เพื่อที่จะนำมาใช้ในการจัดดำเนินการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพโดยอาศัยแนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยามาเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์ศิลปะการสอนให้เกิดคุณค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน
การศึกษา
การให้การศึกษาแก่บุคคลอันเป็นวิชาชีพหนึ่งที่มีปรัชญาจุดมุ่งหมายความเป็นมาและวิธีดำเนินการที่แตกต่างจากศาสตร์ทางจิตวิทยา เน้นไปที่การบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการดำเนินชีวิตและประกอบอาชีพเพื่อการดำรงอยู่ของตนเองและสังคมอย่างมีความสุข
ความเป็นมาของกรอบแนวคิดทางจิตวิทยาการศึกษา
William James: ประกายแรกของจิตวิทยาการศึกษา
John Dewey: จิตวิทยาและทฤษฎีทางการศึกษา
Stanley Hall: การบูรณาการจิตวิทยาสู่การศึกษา
ขอบข่ายของจิตวิทยาการศึกษา
นักจิตวิทยาการศึกษาต้องทราบถึงวิธีการศึกษาทำความเข้าใจมนุษย์รวมทั้งมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดของจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม (Humanistic Orientation) พฤติกรรมนิยม (Behavioral Orientation) ปัญญานิยม (Cognitive Orientation) และจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Orientation)
นักจิตวิทยาการศึกษาต้องรู้เรื่องราวของทฤษฎีและงานวิจัยที่ได้มาจากจิตวิทยาสาขาต่าง ๆ
จิตวิทยาพัฒนาการ
พัฒนาการทางภาษา
การจูงใจ
การคิดและกระบวนการจัดการกับความคิดของผู้เรียน
การทดสอบและการแปลผล
นักจิตวิทยาการศึกษาต้องติดตามพัฒนาการของการจัดการชั้นเรียนและการออกแบบการสอนการวัดและตรวจสอบรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน
ครูกับจิตวิทยาการศึกษา
ทำไมครูต้องรู้จิตวิทยาการศึกษา
การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน
การสร้างองค์ความรู้ทางจิตวิทยาการศึกษา
ประโยชน์ของจิตวิทยาการศึกษา
การแก้ปัญหาที่เกิดในชั้นเรียน
การพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอน
ครูกับจิตวิทยาการศึกษา
ครูกับการเป็นนักจิตวิทยาการศึกษา
การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน
การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research)
การสังเกตตามธรรมชาติ (Naturalistic Observation)
. การสำรวจ (Survey)
การศึกษาเป็นรายกรณี (Case Study
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้
ผู้เรียน
ซึ่งจะต้องคำนึงถึง เพศ อายุ วุฒิภาวะ และความพร้อมของผู้เรียน
บทเรียน
ความยากง่าย ความหมาย และการแบ่งเนื้อหา
วิธีเรียนวิธีสอน
การจัดกิจกรรม การใช้เครื่องล่อใจ การฝึกฝนการเสริมแรง