Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมทางสังคม (Social Behavoir) - Coggle Diagram
พฤติกรรมทางสังคม (Social Behavoir)
ธรรมชาติของพฤติกรรมมนุษย์ในบริบทสังคมเเละวัฒนธรรม
ความหมายพฤติกรรมทางสัมคม
พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง การศึกษาว่า บุคคลคิดอย่างไร รู้สึกอย่างไร เเละมีการกระทำอย่างไนในสิ่งเร้าทางสัมคม
พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่เเสดงออกเมื่อบุคคลต้องทมีความเกี่ยวข้องกับสังคมฟฏิกิริยาสะท้อนที่เเสดงให้เห็นถึงความคิด ความรู้สึก
โครงสร้างของกลุ่มเเละการอยู่ร่วมกัน
โครงสร้างของกลุ่ม ประกอบด้วยเครือข่ายของบทบาทเส้นทางการสื่อสาร เเละพลังของกลุ่ม การจัดระบบกลุ่ม
ช่องว่างระหว่างบุคคล
เกณฑ์ช่องว่าง
ระยะห่างบุคคล
ระยะสังคม
ระยะใกล้ชิด
ระยะสาธารณะ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เเละเเนวทัศน์ที่เกี่ยวข้อง
การสร้างมิตรภาพระหว่างบุคคล
มิตรภาพทางเพศ
การแลกเปลี่ยนทางสังคม
ความชื่นชอบ
ความรัก
ทฤษฎีความรักสามเหลี่ยมของ Sternberg
กามารมณ์
การตัดสินใจ / ยอมรับ
ความสนิทสนม
มิตรภาพ
ไว้วางใจเเละปรับทุกข์
เเลกเปลี่ยนประสบการณ์
แสดงอารมณ์ในการสนับสนุน
การรับรู้ทางสังคม
การพัฒนาความรู้สึกประทบใจต่อบุคคลอื่นๆ
การเเสดงตนต่อบุคคลด้วยความประทับใจ
ทฤษฎีการเปรียบเทียบสังคม
เจตคติเเละการเปลี่ยนแปลงเจตคติ
การก่อรูปของเจตคติ
การเรียนรู้
การไม่ลงรอยทางความคิด
การเปลี่ยนเเปลงเจตคติ
การชักจูง
สาร
ความหมาย
ผู้รับสาร
สื่อ หรือช่องทาง
แหล่งข้อมูลที่ส่งสาร
หน้าที่ของเจตคติ
การปรับตัว
ความรู้
การป้องกันอีโก้
การวัดเจตคติ
การสัมภาษณ์ปลายเปิด
มาตราส่วนของ Likert
องค์ประกอบของเจตคติ
องค์ประกอบทางการด้านอารมณ์
องค์ประกอบทางการด้านพฤติกรรม
องค์ประกอบทางการด้านการคิด
เเง่มุมปัจเจกบุคคล : ส่วนหนึ่งของกลุ่มทางสังคม
พฤติกรรมช่วยเหลือสังคม
หมายถึง พฤติกรรมที่สังคมได้รับประโยชน์เเละเป็นพฤติกรรมที่ช่วยเหลือบุคคลอื่น เรียกว่า การเอื้อเฟื้อ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมช่วยเหลือสังคม
กราเปลี่ยนแปลงของสังคม
บรรทัดฐานของสังคม
บทบาทผู้นำ
ทฤษฎีความเป็นบุคคลที่ยิ่งใหญ่
รูปแบบบังเอิญ
การส่งเสริมพฤติกรรมช่วยเหลือ
การขจัดพฤติกรรมที่ไม่ให้ความช่วยเหลือ
หารขัดเกลาทางสังคมด้านพฤติกรรมช่วยเหลือ
อิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์
อิทธิพลต่อสังคม
อิทธิพลต่อสังคม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของบุคคลที่ถูกชักจูงโดยดารกระทำของบุคคลอื่นๆ
ความก้าวร้าว
องค์ประกอบของความก้าวร้าว
สัณชาตญาณ
ชีววิทยา