Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้สูงอายุในระยะท้ายของชีวิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้สูงอายุในระยะท้ายของชีวิต
รูปแบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้าย
การควบคุมอาการเจ็บป่วยด้วยทีมสุขภาพ (Symptom Control Team)
บริการให้คำปรึกษาและแนะนำแก่ครอบครัวของผู้ป่วยสูงอายุ
รูปแบบสถานพยาบาลกึ่งบ้าน (Hospice Care)
การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
2.การดูแลที่บ้าน/การดูแลโดยชุมชน(Home-based/Community-based Care)
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life care)
การดูแลผู้ป่วยใน (In-Patient Unit)
การดูแลผู้ป่วยช่วงใกล้เสียชีวิต (Terminal care)
ความหมายของผู้ป่วยระยะท้าย
ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ที่หมดหวัง
หมายถึง ผู้ป่วยที่แพทย์ให้การวินิจฉัยว่า เป็นโรคที่ไม่สามารถจะรักษาให้หายได้ และไม่มีโอกาสที่จะใช้เวลาที่เหลือ
ผู้ป่วยสุดท้ายหรือผู้ป่วยใกล้ตาย
หมายถึง ผู้ป่วยที่หมดหวังจะหายจากโรค อาการจะทรุด ลงเรื่อยๆ
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
หมายถึง ผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ได้รับการวินิจฉัยว่าสามารถมีชีวิตอยู่ได้ระมาณ 6 เดือน หรือน้อยกว่า
การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุ ระยะสุดท้ายใกล้ตาย
บทบาทพยาบาลในการดูแลประคับประคองจิตใจญาติผู้ป่วย
อนุญาตให้ครอบครัวได้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยตามความต้องการ
ควรปล่อยให้ญาติได้อยู่กับผู้ป่วยด้วยความเงียบสงบ
เปิดโอกาสให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการประเมินอาการผู้ป่วย
แนะนาการรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
ประเมินสภาพจิตใจของผู้ดูแลผู้ป่วย
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยหรือญาติได้เลือกสถานท่ีท่ีต้องการ
เปิดโอกาสให้ซักถาม
อนุญาตให้ญาติแสดงความรู้สึกเศร้าโศก เสียใจ แสดงความรัก
อธิบายให้ญาติและครอบครัวผู้ป่วยได้รับรู้ข้อมูล
แสดงความเห็นอกเห็นใจแก่ครอบครัวในกรณีผู้ป่วยถึงแก่กรรม
ประชุมปรึกษาหารือกับแพทย์
ภายหลังผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว พยาบาลควรสร้างการมีส่วนร่วมกับญาติใน การปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างสมเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นะมนุษย์
การพยาบาล
การพยาบาลด้านร่างกาย
เบื่ออาหาร
ปรับรูปแบบ รสชาติตามความพึงพอใจของผู้ป่วย
จัดสภาพแวดล้อมให้ผ่อนคลาย ไม่มีกลิ่นรบกวน
ให้รับประทานอาหารมื้อละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
ไม่ทำหัตถการขัดเวลาขณะกิน
ให้ยารักษาตามสาเหตุที่สามารถแก้ไขได้ก่อน เช่น ท้องอืด ท้องผูก
คลื่นไส้ อาเจียน (Nausea and vomiting)
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจสาเหตุการรักษาที่ได้รับและการปฏิบัติตัวในการควบคมุอาการ
ประเมินอาการและสาเหตขุองการเกิด
ปรับเปลี่ยนประเภทอาหารเป็นอาหารย่อยง่าย
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊สลดอาหารมนั ของทอดอาหารหวานจัดและอาหารที่มีกลิ่นแรง
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำก่อนและหลังอาหาร
จัดท่าให้นั่งหรือนอนศีรษะสูงหลังรับประทานอาหารจัดสภาพแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้ดี
ดูแลให้ได้รับยาเพื่อบรรเทาอาการตามแผนการรักษา
อาการอ่อนล้า (Fatigue).
รักษาสมดุลของกิจกรรม และการพักผ่อน
นวดผ่อนคลาย ฝึกสมาธิ
ค้นหาปัจจัย เพื่อนำมาสนับสนุนด้านการรักษา
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary incontinence)
ฝึกkegel exercise
กรณีใส่สายสวน ต้องทำความสะอาดป้องกันการติดเชื้อ
ฝึกการขับถ่ายปัสสาวะให้เป็นเวลา
ดูแลผิวหนังบริเวณอวัยวะเพศ
ปัญหาสุขภาพช่องปาก
ดูดเสมหะ ทำความสะอาดปาก
ให้จิบน้ำบ่อยๆ ทาวาสลีนที่ปาก
ประเมินสุขภาพช่องปาก
บรรเทาอาการปวดต่างๆ ให้อาหารอ่อน
ภาวะขาดน้ำ (dehydration)
หากรับประทานอาหารทางปากไม่ได้ ให้ทางสายแทน
หากทุกข์ทรมานจากการขากน้ำ อาจให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแทน
การดูแลความสะอาดจมูกและตา
อาการท้องผูก
ความปวด
ภาวะหายใจลาบากในผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Dyspnea and death rattle)
7.การดูแลแผลกดทับ
ดูแลให้แห้ง ไม่เปียกชื้น
ทำความสะอาดหลีกเลี่ยงความระคายเคือง
ประเมินสาเหตุ
ทาโลชั่น ออย
หลีกเลี่ยงการนวดปุ่มกระดูก โดยเฉพาะที่มีรอยแดง
ผ้าปูต้องสะอาด แห้ง ปูให้ตึง วัสดุแข็งๆ
การพยาบาลด้านจิตใจ สังคม วิญญาณ
จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นสัดส่วนสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อความสงบ
ควรให้ผู้ป่วยตระหนักในคุณค่าชีวิตและศักดิ์ศรีของตนเอง
3.การติดต่อสื่อสารกับผู้สูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย
ช่วยให้จิตใจจดจ่อกับส่ิงดีงาม
พยาบาลควรมีบทบาทในการให้ข้อมูลท่ีเป็นจริงและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ เจ้าหน้าที่ทุกคน
ช่วยให้ผู้ป่วยปล่อยวางส่ิงต่างๆ
การประเมินความต้องการและปัญหาของผู้ป่วย
กล่าวคำอาลา
ผู้ป่วยบางรายต้องการวางแผนชีวิตบั้นปลาย พยาบาลควรช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาของผู้ป่วยและญาติ
บทบาทของพยาบาล 9 c
5. การเยี่ยมของบุตรหลาน (Children)
ผู้ให้การดูแลเป็นผู้จัดโอกาสและเวลาให้ บุตรหลานของผู้ป่วยมาเยี่ยมเยือน
6. ความสัมพันธ์ในครอบครัว (Cohesion)
ผู้ให้การดูแลเป็นผู้เชื่อมสัมพันธภาพ ระหว่างผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว ให้สมาชิกในครอบครัวได้ช่วยเหลือเกื้อกูลให้กำลังใจ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่เป็นภาระของครอบครัว และยังช่วยให้ญาติ สามารถปรับตัวกับความรู้สึกที่จะสูญเสียบุคคลที่รักไปได้
4.การติดต่อสื่อสาร(Communication)
ผู้ให้การดูแลจะต้องเป็นผู้ฟังที่ดี(Active listening) มีการพูดคุยกับผู้ป่วยถึงขั้นตอนและแผนการรักษาให้ผู้ป่วยเข้าใจหรือตัดสินใจ ช่วยประสานให้ผู้ป่วยกับครอบครัวหรือบุคคลที่ผู้ป่วยต้องการพบหรือขออโหสิกรรม
7.ความร่าเริงแจ่มใส(Cheerfulness)
ผู้ให้การดูแลต้องมีอารมณ์ที่แจ่มใสสีหน้า สดชื่น ท่าทางเป็นมิตรมากกว่าท่าทีห่วงกังวล
3.ความรู้สึกสบาย(Comfort)
ผู้ให้การดูแลต้องคำนึงถึงความสุขสบายของผ้ปู่วย บรรเทาอาการปวดและอาการไม่สบายต่างๆ ไม่ทำหัตถการที่ต้องเจ็บปวด
8. ความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง (Consistency)
ผู้ให้การดูแลต้องมีความ สม่ำเสมอและต่อเนื่องเพราะผู้ป่วยเหล่านี้มีความกลัวที่จะถูกทอดทิ้งกลัวจะเผชิญ กับความตายอย่างโดดเดี่ยวจึงควรเยี่ยมผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
2. ความเข้าใจความเห็นใจ (Concern)
ผู้ให้การดูแลมีเมตตา กรุณา เข้าอก เข้าใจ และห่วงใยผู้ป่วยและญาติ
9. การมีจิตใจท่ีสงบ (Calmness of mind, Equanimity)
ผู้ให้การดูแลมีจิตใจที่ สงบสุข สามารถเผชิญกับผู้ป่วยใกล้ตายได้อย่างเหมาะสม ไม่รู้สึดหวาดหวั่นเกินเหตุ หรือแสดงอาการเฉยเมยต่อผู้ป่วยและญาติ
1.ความสามารถ(Competence)
ผู้ให้การดูแลต้องมีความรู้ความสามารถให้การรักษาพยาบาล
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง 6 ด้าน
มีความต่อเนื่องในการดูแล
เป็นการดูแลแบบเป็นทีม
เป็นการดูแลแบบองค์รวม ที่เน้นการบรรเทาความทุกข์ทรมานในทุกด้าน
เน้นส่งเสริมระบบสนับสนุนการดูแล
1.จุดเน้นในการดูแลคือผ้ปู่วยและครอบครัวที่ถือว่าเป็นจุดศูนย์กลางของการดูแล
เป้าหมายในการดูแลเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยสูงอายุเสียชีวิต
พยาบาลควรกระทำด้วยความนุ่มนวล สมศักดิศรี
8.ดูแลจัดสภาพผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมให้อยู่สภาพที่ดีก่อนที่ให้ญาติเข้าเยี่ยม
เมื่อผู้ป่วยจากไปพยาบาลกล่าวแสดงความเสียใจกับญาติผู้ป่วย และให้เวลากับญาติในการแสดงความอาลัย
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าท่ีสุขสบายคล้ายผู้ท่ีกำลังนอนหลับ
เมื่อความดันโลหิตเร่ิมต่ำมาก พยาบาลจะแนะนาให้ญาติผู้ป่วยบอกทางให้ผู้ป่วย
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ช้ช่วยเหลือผู้ป่วยก่อนตาย ควรถอดออกจากผู้ป่วย
4.จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้อยู่กับญาติตามลำพังและกั้นม่านให้ตามความ เหมาะสม บรรยากาศเงียบสงบ
ทำความสะอาดร่างกาย ใส่ฟันปลอม (ถ้ามี) หวีผม แต่งตัวให้เรียบร้อย
แพทย์ พยาบาล และญาติผู้ป่วยร่วมปรึกษาหารือกัน และให้ญาติเป็นผู้ ตัดสินใจในการให้แพทย์ช่วยฟื้นคืนชีพหรือไม่
หลังดูแลผู้ป่วยเรียบร้อยแล้ว ควรอนุญาตให้ญาติเยี่ยมโดยจัดให้เป็นส่วนตัวและให้เวลาแก่ญาติ
ให้การพยาบาลอย่างนวลตามแผนการพยาบาลและแผนการรักษา
เขียนใบมรณะบัตร
บันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
การเตรียมรับวาระสุดท้ายแห่งชีวิต
ความหมายของความตาย
เป็นการสิ้นสุดของชีวิต โดยหัวใจหยุดเต้นและการหายใจหยุดทำงาน (clinical death)
ภาวะสมองและก้านสมองขาดเลือด โดยพิจารณาจากการทางานของ ระบบสมองเป็นหลัก
วิธีการจัดการวาระสุดท้ายของชีวิต
รูปแบบการจัดการเผชิญความตายหรือการเตรียมตัวก่อนตาย
การเตรียมตัวด้านจิตใจ(Psychologicalpreparation)
การปลอบโยนและให้กำลังใจแก่ผู้ที่มีความเศร้าโศกเนื่องจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
การใช้ชีวิตท่ีเหลืออยู่ด้วยการเสริมสร้างคุณค่าและประโยชน์แก่ผู้อื่น
การเข้าร่วมพิธีศพของผู้อื่นด้วยตระหนักรู้อยู่เสมอว่าความตายเป็น
ธรรมชาติของชีวิตที่สามารถหลีกเลี่ยงได้
การขออโหสิกรรมและการให้อภัย โดยมีสิ่งยึดเหนี่ยวของจิตใจ
การพูดคุยกับญาติหรือเพื่อนของผู้ที่อยู่ในภาวะใกล้ตาย
การเดินทางไปยังสถานที่ที่มีความสำคัญต่อตน
การตั้งความหวังไว้ว่าตนจะพบกับความตายที่ปราศจากความเจ็บปวด
การเตรียมตัวด้านจิตวิญญาณ(Spiritualpreparation)
การเล่าเรื่องราวในอดีตให้คนอื่นฟัง การเขียนอัตชีวประวัติ เพี่อยากถ่ายทอดประสบการณ์ ในชีวิตของตนเองให้ผู้อื่น
การสนทนากับสมาชิกในครอบครัวเก่ียวกับการจัดพิธีศพที่ตนเองต้องการ
การมอบสิ่งของที่เป็นของรักของตนให้ผู้อื่น
การปฏิบัติตามความเช่ือทางศาสนาหรือส่ิงศักดิ์สิทธิตามความศรัทธาของแต่ละบุคคล
มีการระลึกถึงความหลังและทบทวนชีวิตที่ผ่านมา
การเตรียมตัวด้านร่างกาย(Physicalpreparation)
การวางแผนเกี่ยวกับการจัดงานศพของตน
การบริจาคอวัยวะของร่างกาย
การเลือกสถานที่ตาย
การเลือกสถานท่ีสำหรับพักรักษาตัว
การเลือกวิธีการรักษาทางการแพทย์
การเตรียมตัวด้านสังคม(Socialpreparation)
การพบปะสังสรรค์กับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อน
การจัดการธุรกิจท่ีคั่งค้างให้เสร็จเรียบร้อยและการมอบหมายงานให้ผู้อื่นเป็นผู้รับผิดชอบ
การสนทนากับสมาชิกในครอบครัวเรื่องชีวิตและความหมายของความ ตาย
การทำพินัยกรรม การทำประกันชีวิต การจัดการเรื่องการเงิน
มีการเสริมสร้างสัมพันธภาพของตนและครอบครัวหรือบคุคลอันเป็นท่ีรักให้มีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
การวางแผนร่วมกับสมาชิกในครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิดเรื่องค่าใช้จ่ายในงานศพ
ควรมีการสนับสนุนให้เกิดสัมพันธภาพในสังคมกับบคุคลอื่นและส่ิงอื่น
การปรึกษาหารือกับสมาชิกในครอบครัวเก่ียวกับผู้รับผิดชอบค่า
รักษาพยาบาลในภาวะใกล้ตาย