Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด, -, นางสาวภัทรธิดา พฤกษ์ยินดี พยบ.ปี 3 180101070 -…
การพยาบาลทารกแรกเกิด
- การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
- fossa ovale ปิดสมบูรณ์ใน 6 hr-3 month
- ductus ateriosus ligamentum arteriosum in 24-48 hr.
- ductus venosus ปิดเมื่อผูกและตัดสายสะดือ
-
-WBC แรกเกิด 15,000-25,000 ต่อลบ.มม. ลดลงเมื่ออายุ 13-14 yr.
- RBC : Hb > 22 g/dl polycythemia physiologic jaundice
- Plt แรกเกิด 150,000-250,000 ต่อลบ.มม.เพิ่มเท่าผู้ใหญ่ในเดือนที่3
- แรงกระตุ้นต่อตัวเด็ก จากสัมผัส แสง เสียง แรงโน้มถ่วง ความเย็นT
- ทางเคมี CO2ครั่งO2ต่ำ เลือดเป็นกรด กระตุ้นchemoreceptor
-
-
- สายสะดือถูกตัด ศูนย์หายใจไวต่อการถูกกด
- ลักษณะสำคัญของทารกเกิดใหม่ในทางเดินหายใจ
-
- ทารกยังไม่รู้จักการหายใจทางปาก
- ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลมเป็นส่วนใหญ่ ถ้าท้องอืดจะไม่เพียงพอ
-
- ต่อมน้ำลายพึ่งเริ่มทำงานเพีงพอให้แค่ปาก,คอชุ่มชื้นเท่านั้น
- จุอาหารได้น้อยเพราะกระเพาะเล็ก
- กล้ามเนื้อหูรูดหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะยังทำงานไม่เต็มที่
- ลำไส้สะอาดไม่มีbac.ช่วยสังเคราะห์ vit k ทำให้สำรอก แหวะนมได้ง่าย
- ตับทำงานไม่สมบูรณ์ ทำให้เปลี่ยน Unconjugate billirubin เป็น conjugate billirubin มีน้อยเลยต้องใช้เอนไซม์จากตับ = Glucoronyl tranferanse แต่ตับยังสร้างได้น้อย ทำให้ตัวเหลืองได้ใน 2-3 วันหลังคลอด
-
- การควบคุมน้ำตาลยังทำงานไม่มีประสิทธิภาพ อาจพบน้ำตาลในเลือดต่ำ
- สร้างโปรทรอมบินและสารทำให้เลือดแข็งตัวยังไม่สมบูรณ์ ทำให้เสี่ยงต่อเลือดออกได้2-3 วันหลังคลอด
- น้ำย่อย carbohydrate เต็มที่เมื่อ 3 เดือน ขี้เทาถูกถ่ายออกใน 24 hr เป็น transitional stool หลัง 2-3 วัน
- หลังคลอดไตต้องทำหน้าที่ทันที
- ทำงานระบบขับถ่ายยังทำงานไม่ดี
-
- ทำให้ปัสสาวะเข้มข้นมีน้อย
- พบโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะได้
- ฮอร์โมนยับยั้งการขับปัสสาวะน้อย เกิดภาวะขาดน้ำง่าย
- ได้รับอิทธิพลจากฮอร์โมนเพศมารดา
- ได้โปรเจสเทอโรนจากมารดาลดลง ทำให้ทารกเพศหญิงมีเลือดออกทางช่องคลอดได้
- รกสร้างฮอร์โมนและตัวกำเนิดฮอร์โมน ส่งเสริมการสังเคราะห์ steroid และส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของฮอร์โมนระหว่างมารดาและทารกในครรภ์
- ต่อไร้ท่อทารกแรกเกิดจึงสมบูรณ์แล้วเมื่อแรกกคลอด
- หายไปเมื่ออายุ 2-3เดือนหากไม่พบสมองได้รับความอันตราย กระดูกหักเส้นประสาทแขนเป็นอัมพาต - ทดสอบโดยตบที่นอนเสียงดัง จะตอบสนองโดยการเหยียดแขน ขาออก2ข้าง นิ้วคลี่เป็นรูปพัด - ถ้าไม่ตอบสนอง = ได้รับบาดเจ็บตอนคลอด ขาดO2 สมองถูกกด ติดเชื้อในสมอง ถ้ามีไม่เท่ากัน2ข้าง= อาจมีเส้นประสาทแขนเป็นอัมพาตหรือกระดูกไหปลาร้าหัก
- tonic neck reflex หายไปเมื่ออายุ 6 เดือน
- placing reflex ทดสอบเมื่อจับศีรษะหันไปด้านใดด้านหนึ่ง แขน ขาด้านต้องข้ามจะงอ หายไปเมื่ออายุ 6 wks.
- stepping reflex หายไปเมื่ออายุ1-2 เดือน
- rooting reflex หายไปเมื่อ3-4 เดือน ไม่ตอบสนองหรือน้อย = สมองบาดเจ็บ ถ้ามีตลอด = สมองเป็นอัมพาต
-
-
- babinski reflex ทดสอบโดยเอามือด้านข้างฝ่าเท้าจากส้นเท้าถึงหัวแม่โป้ง แม่เท้าจะกระดกขึ้น นิ้วกางออก ถ้าไม่ตอบสนอง = ไขสันหลังหรือเส้นประสาทถูกทำลาย
- Tแรกเกิดที่เหมาะสม = 32-34 c
- สูญเสียความร้อนง่ายกว่าเพราะพื้นที่ผิวกายเทียบกับน้ำหนัก มากกว่าผู้ใหญ่
- ฉนวนกันความร้อนมีน้อยกว่า ทำให้สูญเสียความร้อนไปในสิ่งแวดล้อม โดยการนำ พา ระเหย แผ่รังสีได้มากกว่า
- Ig G ระดับใกล้เคียงแม่จนถึง 6 เดือน
- ยังมีปริมาณน้อยและทำงานไม่สมบูรณ์
- ให้วัคซีนก่อนภูมิคุ้มกันธรรมชาติจะหายไป
- เลี้ยงด้วยนมแม่จะมีภูมิคุ้มกันโรคในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจเนื่องจากอยู่ในน้ำนมเหลือง
- 2-3 hr แรกเกิดได้พลังงานจากคาร์โบไฮเดรตจากที่สะสมไว้
- 2-3 วันได้พลังงานจากไขมัน
- วันแรกต้องการพลังงาน 40-50 kcal/kg/day แล้วค่อยๆเพิ่มตามอายุ
- ปริมาณน้ำ/น้ำหนัก มากกว่าผู้ใหญ่ เพราะเป็นน้ำที่อยู่นอกเซลล์
- ไตยังทำงานไม่ดี ทำให้ทนต่อการเปลี่ยนปริมาตรน้ำและE'lyteไม่ดีเท่าผู้ใหญ่
- นน.ลด6-10% หลังเกิดใน2-3 วันแรก
-
-
-
-
-
-
-
- สร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
-
-
-
-
-
-
- 3-4 คะแนน = ขาด O2ปานกลาง เขียวคล้ำ
- 0-2 คะแนน = ขาด O2อย่างมาก มีความเป็นกรดสูง ไม่มีการตึงตัวของกล้ามเนื้อ
-
- ดูแลป้องกันสูญเสียความร้อน
- ป้องกันติดเชื้อ ให้alcoho 70% เช็ดสะดือ,1% AgNo3 หยอดตา, terramycin ointment, tetracyclineป้ายตา
- ป้องกันเลือดออกโดยฉีดvit k 1 mg
-
- ทารกอายุ 28 วันหลังคลอด มีการเปลี่ยนแปลงจากการต้องพึ่งมารดาตอนอยู่ในครรภ์เป็นพึ่งพาตัวเอง
-
- newborn 1-29 day or 1 month
-
-
- low birth weight baby w < 2,500 g.
- early neonatal period แรกเกิด-7วัน
- lated neonatal period 7-28 day
- life birth แสดงอาการมีชีวิต
- still birth still birth+early neonatal period
- neonatal death early neonatal period+lated neonatal period
-
-
-
-
-
-