Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
การวางแผนดูแลระยะคลอด
Category ll : สัมพันธ์กับสภาวะเลือดเป็นกรดของทารกในครรภ์ในช่วงเวลานั้น ควรได้รับการประเมิน สาเหตุที่สามารถแก้ไขได้และเพิ่มปริมาณเลือดและออกซิเจนที่ไปเลี้ยงมดลูกและรก
การที่ไม่มี variability บ่งบอกถึง ทารกในครรภ์มีภาวะสมองขาดออกซิเจน ( cerebral hypoxia )
บอกถึงการที่ทารกไม่สามารถ compensate ภาวะ Hypoxia ได้
Absent หรือ Minimal variability with deceleration หรือ Bradycardia
Category lll : คือลักษณะที่ไม่เข้าเกณฑ์ทั้ง CAT l ,CAT ll
Intermittent Variable deceleration (<50%)
Recurrent variable deceleration
Recurrent late deceleration
Fetal tachycardia
Bradycardia
Prolong deceleration
Tacchysystole
Category l : ทารกจะมีภาวะเลือดเป็นกรดน้อยมาก
ไม่พบ Late FHR deceleration
มี Moderrate FHR variability (6 ถึง 25 bpm)
FHR baseline อยู่ระหว่าง 110 ถึง 160 bpm.
มี early deceleration
การตรวจสอบสุขภาพทารกในครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์-ระยะคลอดมี 3 วิธี
การตรวจครรภ์คลินิก (clinical assessment)
ตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจทารก (Fetal heart rate : FHR)
ชั่งน้ำหนักมารดา
การตรวจนับจำนวนทารกในครรภ์ดิ้น (fetal movement count : FMC)
วิธีการของซาดอฟสกี้ (Sadovsky)
วิธีการนับครบสิบ (count to ten ) หรือวิธีการคาร์ดิฟ (cardift count to ten)
การซักประวัติ
ประวัติครอบครัว
ประวัติส่วนตัว
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการใช้ยาและแพ้ยา
จากการวัดความสูงของมดลูก
วัดระดับความสูงของยอดมดลูกด้วยสายเทป
ใช้วิธีMcDonald
ทำระดับความสูงของยอดมดลูก
การประเมินชีวเคมี (biochemical measurement)
เก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์ (fetal blood sampling)
[เป็นวิธีที่ไม่นิยม]
ภาวะทารกบวมน้ำ(hydrops fetalis)
ตรวจหาโรคทางพันธุกรรม : ธาลัสซีเมีย,อิโมฟิเลีย
การติดเชื้อไวรัส
การดูดเนื้อเยื่อรก (Chorionic Vilus Sampling = CVS)
เพื่อศึกษาโครโมโซม มี 2 วิธี
Transabdominal chorionic villus sampling
Transcervical chorionic villus sampling ประเมินอายุครรภ์ 14 สัปดาห์
การตรวจระดับ Estriol (E3) ในเลือดและปัสสาวะจากมารดา
การแปลผล
E3 ที่อยู่ในช่วง 2 SD ของแต่ละสัปดาห์ : ทารกปกติดี (Reassuring)
E3 ที่ต่ำกว่าช่วง 2 SD ของแต่ละสัปดาห์: ไม่อาจรับประกันได้ว่าทารกปกติ( nonreassuring)
การตรวจทำได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 28-32 wks. เป็นต้นไป
พบผลบวกลวง สูงจากหลายปัจจัยที่รบกวนระดับ E 3
กินยาปฏิชีวนะ ทำให้ลดการดูดซึมที่ลำไส้สตรีตั้งครรภ์
ใช้ยาสเตียรอยด์
ระดับ E3 จะเพิ่มอย่างรวดเร็วในช่วงอายุครรภ์ 35 -36wks. และส่งคงที่ ที่ 40 wks.
การตรวจ Human placenta lactogen
เริ่มสร้างในสัปดาห์ที่ 3 หลังจากการตกไข่
ระดับสูงสุดเมื่อ GA 36-37 wks.
คัดกรองจากเลือดมารดาหาระดับ alpha-fetoprotein
(Maternal serum alpha-fetoprotein screening = MSAFP)
ค่าปกติ AFP = 2.5 MoM (multiple of median)
ถ้า AFP > 2.5 MoM ทารกเสียงมีท่อประสาทเปิด (neural tube defects)
ตรวจเมื่ออายุครรภ์ 15 สัปดาห์
ถ้า AFP < 2.5 MoM ทารกเสี่ยงเป็นกลุ่มอาการดาวน์ ( Down Syndrome)
การเจาะน้ำคร่ำ
ประเมินเมื่ออายุครรภ์ระหว่าง 15 - 18 wka.ทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์
(Lung maturity test)
ประเมินเมื่ออายุครรภ์ 36 - 37 wks. เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดภาวะ respiratory distress syndrome = RDS
ตรวจโครโมโซม เพื่อประเมิน Down Syndrome
การตรวจชีวฟิสิกส์
วิธีการตรวจทางชีวฟิสิกส์
ระยะคลอดมี 2 วิธี
Exernal fetal monitoring (EFM)
การอ่านค่า EFM
การ ldentify ชื่อผู้ป่วย วันที่และเวลา
ดูลักษณะของ FHR & Uterine contraction
Variability
Acceleration
Deceleration
Late
Variable
Early
FHR Baseline
Internal fetal monitoring
ระยะตั้งครรภ์(Antepartum)
Contraction stress test : CST เป็นการตรวจดูการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อมดลูกหดรัดตัว
ทำเมื่อตรวจ NST แล้วพบว่าผิดปกติ
ข้อห้ามในการตรวจวิธีนี้
มีประวัติผ่าตัดการคลอดมาก่อน
มีมดลูกรูปร่างผิดปกติแล้วมีรกเกาะต่ำหรือมีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกําหนด
มีประวัติเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
แม่ครรภ์แฝด
ฟีตัล ไบโอ ฟิสิคัล โปรไฟล์ (fetal biophysical profile : BPP) เป็นการตรวจดูจาก Ultrasound
กำลังกล้ามเนื้อของทารก (fetal tone = FT)
การเต้นหัวใจทารกตอบสนองเมื่อทารกเคลื่อนไหว
(reactive fetal heart sound =FHS)
การเคลื่อนไหวของทารกทั่วร่างกาย
(Gross body movement = FM)
ปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid volume)
การหายใจของทารก (fetal breathing movement = FBM)
Non stress test : NST
เป็นการตรวจดูอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว
ข้อบ่งชี้การทำ NST
1.ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
ตั้งครรภ์ก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีภาวะแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์ : เบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางระบบการตั้งครรภ์ โรคหัวใจร่วมกับการตั้งครรภ์เป็นต้น
มีถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
มีถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด ตั้งครรภ์แฝด
ตั้งครรภ์แฝด
อายุมากกว่า 35 ปี
มีประวัติทารกตายในครรภ์
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
Acceleration : การเพิ่มขึ้นของ FHR
< 32 wks. FHR สูงจาก baseline > 10 bpm. ระยะเวลา 10 วินาที = 32 wks.FHR สูงจากbaseline > 15 bpm. ระยะเวลา 15 วินาที
Variability คือ อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง (fluctuate) ที่ไม่สม่ำเสมอทั้ง amplitude และ ความถี่ (frequency) ระหว่าง beat to beat
Deceleration : การลดลงของ FHR
Baseline Fetal heart sound
Baseline rate: ค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจทารกปกติ 110-120 ครั้งต่อนาที ในระยะเวลา 10 นาที
วิธีการทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์ (lung maturity test)
Shake test/Foam test
การตรวจหาสาร Phosphatidylglycerol
การวัดอัตราส่วนของ Lecithin/sphingomyelin
ประโยชน์ของการประเมิน
Primary Goal:
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะพิการแต่กำเนิดและภาวะขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรดในทารก
Secondary Goal:
เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดการบาดเจ็บต่อระบบประสาทของทารกในครรภ์