Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบสืบพันธุ์ : การกลับคืนสู่สภาพเดิมของอวัยวะสืบพันธุ์
มดลูก(Uterus)
ในระยะหลังคลอดมดลูกจะมีการเข้าอู่(involution of uterus )โดยการที่มดลูกมีการหดรัดตัวกลับเข้าสู่อุ้งเชิงกรานหลังจากระยะที่ 3 ของการคลอดเเล้ว
การแตกตัวของในกล้ามเนื้อ (Autolysis or Self digestion)
ระยะหลังคลอดระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน และ โปรเจสเตอโรนจะลดลงอย่างรวดเร็วจึงมีการหลั่งเอ็นโซม์โพรทิโอไลติค (Proteoyticenzyme) ซึ่งทำให้เกิดการแตกตัวของใยกล้ามเนื้อ
การขาดเลือดไปเลี้ยงมดลูก (lschemia)
ระยะหลังคลอดเลือดไปเลี้ยงมดลูกลดลง เนื่องจากมีการหดรัดตัวและคลายตัวของใยกล้ามเนื้อมดลูก จึงเก็บกดเส้นเลือดในโพรงมดลูก ทำให้มดลูกมีขนาดเล็กลง
อาการปวดมดลูก (AfterPains)
เป็นอาการปกติ เกิดจากการหดรัดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อมดลูกสลับกัน มักเกิดขึ้นในช่วง 2-3 วันแรกหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (Pituitary hormone)
ตลอดระยะตั้งครรภ์ระดับโพรแลคทินในเลือดจะเพิ่มขึ้น ระยะหลังคลอดมารดาที่ไม่เลี้ยงบุตรด้วยน้ำนมตนเอง ระดับโพรแลคทินจะลดลงจนเท่ากับระดับก่อนตั้งครรภ์ภายใน 2 สัปดาห์
Hypothalamus-Pituitary-Ovarian Function
การตกไข่และมีประจำเดือนครั้งแรกหลังคลอด มีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคล มารดาหลังคลอดจะไม่มีการตกไข่และไม่มีประจำเดือนอยู่ช่วงระยะนึง เนื่องจากระดับ estrogen และ progesterone ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็วร่วมกับการเพิ่มจำนวนของระดับ prolactin
ฮอร์โมนของรก (Placental hormone)
หลังคลอดระดับฮอร์โมนจากโรคในพลาสมาจะลดลงอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง จะตรวจหาระดับฮอร์โมนคอริโอนิคโซมาโทแมมโมโทรฟิน (Human Chorionic Somatomammotropin = HCS) ไม่พบ
ฮอร์โมนอื่นๆ
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไตและตับอ่อนจะทำงานได้ตามปกติภายใน 2-3 สัปดาห์หลังคลอด
ระยะหลังคลอดแบ่งเป็น 3 ระยะ
หลังคลอดระยะต้น (early postpartum period ):ช่วงระหว่างวันที่ 2 - 7 หลังคลอด
หลังคลอดระยะปลาย (late postpartum period) : นับจากสัปดาห์ที่ 2 - 6 หลังคลอด
ระยะหลังคลอดทันที (lmmediate postpartum period ) : ระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุโพรงมดลูกและบริเวณรกเกาะ
หลังจากรกและเยื่อหุ้มเด็กแยกออกไปแล้ว ในระยะ 2-3 วันจะแยกเป็น 2 ชั้น ฉันนอกจะหลุดพ้นไปกับสิ่งที่ถูกขับออกมาจากมดลูก ชั้นในซึ่งมีต่อมแรกเนื้อเยื่อคอนเน็คทีฟ
( connective tissue)
มดลูกจะได้รับการซ่อมแซมอย่างสมบูรณ์ประมาณปลายสัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด ยกเว้นบริเวณที่มีรอยแผลจากการลอกตัวของรก ซึ่งปกติจะหายาวสมบูรณ์ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด ถ้าไม่หายเรียกว่าซับอินโวลิวชั่นของบริเวณที่รกลอกตัว
หลังจากรกและเยื่อหุ้มเด็ก คลอดแล้วจะเกิดรอยแผลที่บริเวณรกลอกตัวมีขนาดประมาณ 8 × 9 cm
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างและการหลั่งน้ำนม
ภายหลังคลอดฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนซึ่งสร้างมาจากรกมีระดับลดลง ทำให้มีการหลั่งฮอร์โมนโปรแลคติน (prolactin) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ( anterior pituitary gland) โดยร่วมกับฮอร์โมนคอร์ติซอล (cortisol ) และอินซูลิน (insulin) ซึ่งจะไปกระตุ้นให้มีการสร้างน้ำนม
ส่วนประกอบของน้ำนมมารดามีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาแบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะน้ำนมปรับเปลี่ยน ( Transitional milk )
เป็นน้ำนมที่ผลิตต่อเนื่องจากน้ำนมเหลืองจนกระทั่งประมาณ 2 สัปดาห์หลังคลอด
ระยะน้ำนมแท้ ( True milk or mature milk )
น้ำนมแท้เป็นน้ำนมในระยะ 2 สัปดาห์แรกหลังคลอดไปแล้ว
ระยะน้ำนมเหลือง (Conlostrum)
อาจเริ่มผลิตตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์และมีต่อเนื่องไปถึงหลังคลอด
การคัดตึงเต้านม
เกิดจากองค์ประกอบ 2 ประการ
มีการคั่งของเลือดและน้ำเหลือง
มีน้ำนมขังอยู่เต็มแอ็ลวิโอไล
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะ
การทำงานของไต ( Renal function )
ระยะหลังคลอดเมื่อระดับฮอร์โมนลดลง ไตจะทำงานลดลง กลูโคสยูเรีย (Glucosuria) ที่จะเกิดขึ้นในระยะตั้งครรภ์จะหายไป
น้ำหนักลด (Weight Loss)
เมื่อทารกและรกคลอดออกมาน้ำหนัก 2000 ดาวจะลดลงประมาณ 4.5 - 5.5 กิโลกรัม และช่วงสัปดาห์แรกหลังคลอดน้ำหนักตัวจะลดลงอีกประมาณ 2-4 กิโลกรัม จากการขับออกทางเหงื่อและปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ขณะทารกผ่านช่องทางคลอด จะทำให้เกิดการบาดเจ็บของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะจะบวมและมักมีอาการบวมและช้ำรอบๆรูเปิดของท่อปัสสาวะ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะลดลงทำให้มีความจุมากขึ้นแต่ความไวต่อแรงกดจะลดลง
หลักการพยาบาลมารดาหลังคลอดปกติ
การช่วยเหลือตนเองทั้งหมด (Self Care) : เตรียมพร้อมที่จะกลับบ้านได้ พยาบาลต้องแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลตนเองและบุตรที่บ้าน
การดูแลบางส่วน (Partial Care) : เป็นระยะที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับตัวมารดาและการเลี้ยงดูบุตร
การดูแลทั้งหมด (Full Care) :ระยะนี้พยาบาลจะให้การดูแลตลอดทั้งมารดา-ทารก
การเปลี่ยนแปลงระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูกกล้ามเนื้อ
ช่วง 1-2 วันแรก หญิงระยะคลอดมีอาการเมื่อยและปวดกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะบริเวณแขน ขา ไหล่และคอ เพราะต้องออกแรงเบ่งขณะคลอดและหลังคลอดรก ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดต่ำลง ทำให้ความตึงตัวของกล้ามเนื้อเริ่มลดลง
โครงกระดูก
หลังคลอด 2-3 วันแรกระดับฮอร์โมนรีแลคซิน ค่อยๆลดลง แต่หญิงระยะหลังคลอดยังคงเจ็บปวดบริเวณตะโพกและข้อต่อ ซึ่งจะขัดขวางการเริ่มเคลื่อนไหว (Ambulation) และการบริหารร่างกาย อาการปวดดังกล่าวจะเป็นชั่วคราว
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การปรับตัวของหญิงหลังคลอดต่อการเสียเลือดจะแตกต่างจากหญิงที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระยะหลังคลอดมี 3 ประการ
2 หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนของโลกสิ้นสุดเป็นการตัดตัวกระตุ้นที่ทำให้หลอดเลือดขยาย
3 มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกหลอดเลือดที่สะสมระหว่างตั้งครรภ์กับเข้าสู่หลอดเลือด
1 การไหลเวียนของเลือดระหว่างบอลโลกกับโลกสิ้นสุดลง
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
ปกติหลังคลอดมารดามักรู้สึกตัวและกระหายน้ำ ในระยะ 2-3 วันแรก มักมีความอยากอาหารและดื่มน้ำมาก พอสูญเสียน้ำระหว่างคลอด
การเปลี่ยนแปลงระบบภูมิคุ้มกัน
ภูมิคุ้มกันต่อปฏิกิริยาการไม่เข้ากันของหมู่เลือดBlood-type incompatibilities) ในช่วงที่เจ็บครรภ์และคลอดเป็นช่วงเสี่ยงต่อการส่งผ่านเลือดจากทารกไปสู่มารดา ช่องมีความสำคัญมากในบรรดาที่มี Rh- เพราะจะได้รับเวล์จากทารกในครรภ์ที่มี Rh+ ระบบภูมิคุ้มกันของมารดาจะสร้างแอนติบอดีเพื่อตอบสนองต่อแอนติเจน ซึ่งถือเป็นสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย โดยอรรถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
การปรับตัวของมารดาในระยะหลังคลอด
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-hid phase): ระยะนี้จะเกิดขึ้นในช่วง 3-10 วันหลังคลอด
ระยะพึ่งตนเอง (Letting-go phase) เกิดขึ้นมา 2 สัปดาห์หลัง
คลอด
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา ( Taing - in phase ): ระยะนี้จะเกิดขึ้นในช่วง 1-2 วันแรกหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมของมารดาในระยะหลังคลอด
หลังคลอดเป็นระยะที่มารดาและครอบครัวต้องปรับตัวเพื่อรับบทบาทหน้าที่การเป็นมารดาและบิดา อย่างเต็มที่ถือเป็นไตรมาสที่ 4 ซึ่งหมายถึงระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเพื่อกลับสู่สภาพเดิม เหมือนก่อนตั้งครรภ์แล้วเป็นช่วงที่มีการปรับตัวของสมาชิกภายในครอบครัวทุกคนต่อสมาชิกใหม่
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum Blues)
ระยะหลังคลอดพยาบาลต้องระวังอารมณ์แปรปรวนของมารดามักจะเกิดขึ้นเสมอระยะ 10 วันแรกหลังคลอด
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาทารกระยะหลัง
คลอด
การประเมินมารดา-ทารกกับครอบคลุมทุกระยะตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ อยากตั้งครรภ์ แมวคลอดและหลังคลอด การประเมินควรทำให้เป็นระบบระเบียบ หาข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ โดยอาจใช้ 12 B ดังนี้
8.Bottom
9.Bowel Movement
7.Bleeding & Lochia
10.Blues
6.Bladder
5.Belly & Fundus
4.Breast & Lactation
11.Baby
3.Body temperature and Blood Pressure
2.Body Condition
12.Bonding and Attachment
1.Background