Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลหลังคลอด
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาหลังคลอด 12 B
Background
ประเมินภูมิหลังของมารดาเกี่ยวกับเศรษฐกิจสังคมการตั้งครรภ์และการคลอดเช่นการที่มีน้ำเดินในระยะก่อนคลอดนานมารดาอาจมีโอกาสเกิดการติดเชื้อได้ความเชื่อของการเลี้ยงดูบุตร
Body temperature
ประเมินเกี่ยวกับสัญญาณชีพของมารดาหลังคลอดเพื่อให้รู้ว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นหรือไม่เช่นถ้ามีไข้ต่ำ ๆ ใน 24 ชมแรกหลังคลอดถือว่าปกติอาจเกิดได้จากการสูญเสียพลังงานสารน้ำเนื้อเยื่อได้บาดเจ็บจากการคลอดพยาบาลควรกระตุ้นให้มารดาได้ดื่มน้ำมาก ๆ
.Body condition
ประเมินสภาพทั่วไปของมารดาเกี่ยวกับภาวะซีดความอ่อนเพลียการลุกจากเตียงการอักเสบของหลอดเลือดดำความต้องการพักผ่อนและความสะอาดของร่างกายเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของมารดาได้อย่างเหมาะสม
Breast and lactation
พยาบาลต้องประเมินเกี่ยวกับลักษณะหัวนมเต้านมปริมาณและลักษณะน้ำนมว่าทารกสามารถดูดได้หรือไม่ปริมาณเพียงพอหรือไม่ถ้าเพียงพอขณะที่ทารกดูดข้างหนึ่งอีกข้างหนึ่งจะไหล
Belly and fundus
มดลูกหลังคลอดต้องมีการหดรัดตัวอยู่เสมอถ้าไม่หดรัดตัวหรือหดรัดตัวไม่ดีต้องคลึงเบา ๆ บริเวณยอดมดลูกมดลูกต้องมีการลดขนาดลงเรื่อย ๆ
Bladder
มารดาหลังคลอดต้องปัสสาวะภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังคลอดมิเช่นนั้นอาจทำให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดเกิดการติดเชื้อในระบบปัสสาวะและไม่สุขสบายได้ก่อนการสวนปัสสาวะควรกระตุ้นให้มารดาปัสสาวะเองก่อน
Bleeding and lochia
ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคอดสิ่งที่ถูกขับออกทางช่องคลอดส่วนใหญ่จะเป็นเลือดสีแดงสดเรียกว่า Bleeding ต่อมาก็เป็นน้ำคราวปลาที่มีสีจางลงเรื่อย ๆ ถ้าปริมาณน้ำคาวปลามีมากขึ้นและเข้มขึ้นหลังจากจางลงแล้วแสดงว่ามีความผิดปกติต้องหาสาเหตุ
Bottom
หลังคลอดต้องมีการประเมินฝีเย็บและทวารหนักเพื่อดูว่ามีการแยกของแผลฝีเย็บหรือไม่มีบวมยาชาบวมก้อนเลือดเกิดขึ้นหรือไม
.Bowel movement lu
2-3 วันหลังคลอดมารดาอาจมีอาการท้องอืดทำให้ไม่สุขสบายได้และถ้ามารดาเบ่งถ่ายแรง ๆ อาจทำให้ฝีเย็บแยก
Blue
ประเมินว่ามารดาสามารถปรับตัวต่อบทบาทมารดาได้หรือไม่พยาบาลควรมีส่วนในการช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆของมารดาเช่นการดูแลทารก
Baby
การเกยกันของกระโหลกศีรษะใบหน้าตรวจดูว่าตาจมูกมี Discharge หรือไม่มีปากแหว่งเพดานโหว่จิ้นเป็นฝ่าหรือไม่การดูดกลืนปกติหรือไม่ผิวหนังปกติทารกเกิดใหม่จะมีผู้วสีชมพู แต่ในระยะ 2-3 ชั่วโมงแรกหลังคลอดมือและเท้าอาจเขียวได้
Boning
สัมพันธภาพระหว่างมารดาทารกประเมินการปรับตัวของสมาชิกในครอบครัวกับบทบาทใหม่ในชีวิตประจำวันและกับทารกเกิดใหม่จะเห็นได้ว่าการประเมินมารดาทารก
การดปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของมารดา
การเปลี่ยนแปลงทางเดินปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
บวมซ้ำ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะลดลงทำให้ได้มากขึ้
ถ่ายปัสสาวะลำบาก
กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะทุก 4 ชั่วโมง
.การทำงานของไต
ระยะตั้งครรภ์ไตทำงานเพิ่มขึ้น
ระยะหลังคลอดไตทำงานลดลง
ระยะตั้งครรภ์ Renal plasma flow.Glumerular filtration เพิ่มขึ้น 25-30
Blood urea nitrogen เพิ่มขึ้นปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด การทำงานของไตกลับปกติใน 4-6 wks.
น้ำหนักลด
ขณะท้องน้ำหนักจะเพิ่ม 10-12 kg
เมื่อคลอดน้ำหนักจะลด 4.5-5.5 kg. -สัปดาห์แรกจะอีก 2-4 kg
สัปดาห์ที่ 6 จะคงตัวเหมือนปกติ
การเปลี่ยนแปลงระบบหัวใจและหลอดเลือด
การไหลเวียนเลือดระหว่างมดลูกกับรกสิ้นสุดลง
หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนของรกสิ้นสุดลงเป็นการตัดตัวกระตุ้นที่ทำให้หลอตเสียดขยาย
มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกหลอดเลือดที่สะสมระหว่างตั้งครรภ์กลับเข้าสู่หลอดเลือด
การเปลี่ยนแปลงผิวหนัง
Chloasma gravidarum ฝ้าบนหน้าหายไป
สีเข้มของลานนมมีเส้นกลางหน้าท้อง [linea nigra] และรอยแตกผนังหน้าท้อง [striae gravidarum] ไม่หาย แต่จางลงเป็นสีน้ำเงิน
เหงื่อออกมากโดยเฉพาะกลางคืน
อาการร้อนแดงที่ฝ่ามือ Palmar erythema
การเปลี่ยนแปลงภูมิคุ้มกัน
หญิงครรภ์แรกมีความไวต่อ ABO แอนติเจนและทำให้ทารกเกิด RBC แตก
Blood-type incompatibilities ช่วงเจ็บครรภ์และคลอด
ป้องกันการสร้างแอนติบอดีโดยฉีด Rho gram (immunoglobulin) ใน 72 ซมมีหลังคลอดภาวะไม่เข้ากันของเลือดจะทำให้ RBC แตก
ตัวเหลืองใน 24 ชมบหลังคลอดต้องส่องไฟรักษา
Body condition
ประเมินสภาพทั่วไปของมารดาเกี่ยวกับภาวะซีดความอ่อนเพลียการลุกจากเตียงการอักเสบของหลอดเลือดดำความต้องการพักผ่อนและความสะอาดของร่างกายเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของมารดาได้อย่างเหมาะสม
การเปลี่ยนแปลงกล้ามเนื้อและกระดูก
1-2 วันแรกหลังคลอดจะปวดเมื่อยกล้ามเนื้อที่แขนขาใหลและคอ
หลังรกคลอดเอสโตรเจนลดลงความตึงตัวกล้ามเนื้อหน้าท้องจึงลดลงนุ่มหยุ่นไม่แข็งแรงและหนาขึ้นบริเวณกลางท้อง
กล้ามเนื้อหน้าท้องแยก
-บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องต้องใช้เวลา 2-3 เดือนทำได้ แต่ 24 ขมแรกหลังคลอด
โครงสร้างกระดูก
ฮอร์โมน relaxin ท่าให้ข้อต่อต่างๆยึดขยาย
กระดูกสันหลังแอ่น
กระดูกเชิงกรานรับน้ำหนักมากขึ้น
2-3 วันแรกหลังคลอตฮอร์โมนจะลดลงเรื่อย ๆยังคงเจ็บสะโพกและข้อต่อถูกขัดขวาง
ข้อต่อแข็งแรงเข้าที่ประมาณ 6-8 wKS, หลังงคลอด
การเปลียนเเปลงระบบอวัยวะสืบพันธ
Uterus มดลูก
หมายถึง
ทันทีหลังรกคลอดระดัลยอดมดลูกอบู่กลางระหว่างสะดือกับหัวหน่าวหรือสูงกว่ากึงกลางเล็กน้อย •1-2ชัวโมงยอดมดลูกจะสูงขึนถึงสะดือหรือสูงกว่าสะดือเล็กน้อย •วันที 6 หลังคลอดจะอยู่กลางสะดือเเละหัวหน่าวอีกครัง •วันที10-12 หลังคลอด จะลดลงอยู่ระดับหัวหน่าว คลําไม่พบทางหน้าท้อง “มดลูกเข้าอู่
ปัจจัยทีทําให้มดลูกเข้าอู่ช้า
ติดเชื้อ
น้ำคร่ำมาก
การคลอดยาวนาน
การคลอดยาก
ผ่านการตังครรภ์และการคลอดหลายครัง
ทารกตัวโต
เศษรกค้างในมดลูก
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
องค์ประกอบการกลับคืนสภาพ
ใยกล้ามเนือมีการเเตกตัวออกเอง/มีการย่อยสลายตัวเอง Autolysis or self digestion
มดลูกขาดเลือดไปเลียง Ischemia or Localized anemia
น้ำคาวปลา Lochia
Lochia rubra
สีแดงเข้ม
มี1-3วัน หลังคลอด Epithelium / RBC / Decidua / Meconium / ขน / ไขมันเคลือบผิวทารก
Lochia serosa
มีวันที 4 - 9 หลังคลอด สีจางลงเปนชมพู-นาตาล
Serum / เศษเยือบุมดลูก / RBC /WBC
มูก / เชือจุลินทรีย์ ( microorganism)
Lochia alba
มีวันที 10-14 หลังคลอด
สีเหลืองจางขาว
WBC /เซลล์เยือบุมดลูกทีมีนิวเคลียสเดียว Epithelium / Fat / มูก / Cholesteral/
Cervix ปากมดลูก
Abdominal wall ผนังหน้าท้อง
อ่อนนุ่ม ปวกเปยกมันเเรกๆ กลับคืนสภาพเดิม 2-3 เดือน
รอยทีหน้าท้อง striae gravidarum
จะไม่หายเเต่จางเปนสีนาเงิน
หลังคลอดทันทีจะนุ่ม บวม บาง ชา มีรอยถลอกหรืฉีกขาดเล็กน้อย ขยายกว้าง
Vagina / Vaginal orifice / Pelvic floor ช่องคลอด ปากช่องคลอด บริเวณพืนเชิงกราน
เอสโตรเจนลดทําให้เยือบุช่องคลอดบางลง ไม่มีรอยย่นเเละยืดขยายได้ รอยย่นจะปรากฏใหม่สัปดาห์ที 3 เเต่ไม่นูนชัด เเละเอสโตรเจนลดจะทําให้ช่องคลอดเเห้ง
ระยะเเรกปากช่องคลอดบวม ชา ถ้าเย็บเเละรักษาดีจะกลับคืนใน / สัปดาห์
เยื่อพรหมจารีย์ ฉีกขาดรุ่งริงหลายเเฉก
เรียกว่า Caruculae myrtiformes
•ฝกให้ขมิบ kegel’s exercise
อุณหภูมิ
Reactionary fever
จากการขาดน้ำเสียพลังงานการชอกช้ำ (Trauma)
จะลดลงปกติใน 24 ชมแรกหลังคลอด -T. สูงเล็กน้อย 37.8 ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส
Milk fever
จากนมคัล (Breast exporarmerit) พบวันที่ 3-4 หลังคลอด
T สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส หายใน 24 ชมหรือเมื่ออาการคัตนมลดลง
Febrile fever
จากการติดเชื้อในร่างกาย
T สูงกว่า 38 องศาเซลเซียลติดต่อกัน 2 วันหรือมากกว่า (ไม่นับ 24 ชมแรกหลังคลอด)
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมมารดาหลังคลอด
ความผูกพันธ์และสัมพันธภาพ
สร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาบิดาและทารก
Bonding: การเริ่มทำความรู้จักกันเอาใจใส่
Attachment: ใช้เวลาที่จะคงความรักไว้
การสัมผัสของมารดา
เป็นการพัฒนาการสร้างสัมพันธภาพจากการค่อยๆเริ่มสัมผัสตัวทารกทีละนิดจนสัมผัสอย่างเต็มที่
Breast เต้านม
Colostrum ระยะนานมเหลือง
1-3 วันเเรกหลังคลอด สีเหลือง:โปรตีน ไขมัน นาตาล เกลือ น้ำ Immuno globulin สูง
.Transitional milk ระยะนานมปรับเปลียน
ผลิตต่อเนืองจากนานมเหลืองถึง 2 สัปดาห์ ไขมัน lactose วิตามินละลายน้ำ เเคลอรีให้พลังงงานมากกว่านานมเหลือง
True/mature milk ระยะนานมแท้
2 สัปดาห์หลังคลอด สีขาวข้น: น้ำ87% รองลงมา คือ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เกลือเเร่ วิตามิน
Breast engorgement การคัดตึงเต้านม
องค์ประกอบ 2 ประการ
1.มีการคังของเลือดเเละนาเหลือง 2-3 วันเเรก
2.มีนานมขังอยู่เต็ม Alvoli หลังวันที4ไป
อาการทัวๆไป
หนักเต้านม ขยายใหญ่ขึน คัดตึงมาก
ผิวเเดงมัน เห็นเส้นเลือดชัดขึน หัวนมสันลง ลานนมเเข็งขึน เนือเยือรอบหัวนมตึง
เจ็บปวดมากเมื่อจับหรือเคลื่อนไหว
การพยาบาลหลัง 24 ชัวโมง หลังคลอด เเละคําแนะนําก่อนกลับบ้าน
มีอาการผิดปกติควรมาโรงพยาบาล
การรักษาความสะอาด
การบริหารร่างกาย
การพักผ่อนเละการทํางาน
การให้บุตรดูดนม
อาหาร
การร่วมเพศ
การมีประจําเดือน
การมีประจําเดือน
การมาตรวจตามนัด
การพยาบาลหลังคลอด 24 ชัวโมงเเรก
ความสุขสบายเเละบรรเทาอาการเจ็บปวด
การบริหารร่างกาย
ความสุขสบายเเละบรรเทาอาการเจ็บปวด
ส่งเสริมให้ลุกจากเตียงเร็ว
สุขภาพจิตเเละสัมพันธภาพ
โภชนาการเเละการขับถ่าย
ส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
ส่งเสริมความสําเร็จในการใหนมบุตร
การปรับตัวของมารดา
.Taking-in phase :ระยะพึ่งพา
1-2 วันเเรกหลังคลอด
จะสนใจเเต่ตนเองเเละพึ่งพาคนอืน
เฉือยชา ไม่เคลื่อนไหว
ไม่อยากสัมผัสทารก
Taking-hold phase :ระยะพึ่งพาเเละไม่พึงพา
3-10 วันเเรกหลังคลอด
เริมปรับตัวได้ สนใจตัวเองน้อยลงสนใจลูกมากขึน
สนใจการให้นมลูก ต้องการเคลื่อนไหว
Letting-go phase :ระยะพึ่งตนเอง
2 สัปดาห์ หลังคลอด
พัฒนกิจของการเปนมารดา
ต้องทิงบทบาทเดิมทีเปนอิสระ
Postpartum biues :อารมณ์เศร้าหลังคลอด
10 วันเเรกจะเศร้ามากถึง 50-70%
มักเกิดใน 3 สัปดาห์ รุนเเรงในครรภ์เเรก
เบืออาหาร คลืนไส้ อาเจียน ร้องไห้ โดยไม่มีเหตุผล หงุดหงิด นอนไม่หลับ
ความหมาย
ระยะตั้งแต่หลังมารำและรก คลอดครบไปจนกระทั้ง ระบบต่างๆของร่างกายกลับคืนสู่สภาพปกติ เหมือนก่อนตั้งครรภ์
ระยะหลังคลอด
หลังคลอดทันที [immediate Pospartum period] 24 ชมปีแรกหลังคลอด
หลังคลอดระยะต้น [Earty Pospartum period] ระหว่างวันที่ 2-7 หลังคลอด
หลังคลอดระยะปลาย [Late Pospartum period] สัปดาห์ที่ 2-6 หลังคลอด