Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักธรรมภายใต้อริยสัจ4 (3.นิโร ธธรมที่ควรบรรลุ (นิโรธ ความดับทุกข์, อัตถะ…
หลักธรรมภายใต้อริยสัจ4
1
.ทุกข์ คือความไม่สบายใจ
1.ขันธ์ 5 คือ องค์ประกอบของชีวิต
1.1รูป คือ ความไม่สบายใจ
1.2เวทนา ความรุ้สึกมี 3 อย่าง
1.2.3ความรู้สึกเฉยๆ อุเบกขาเวทนา
1.2.2ความรู้สึกไม่สบายใจ ทุขเวทนา
1.2.1ความรู้สึกสบายใจ สุขเวทนา
1.3 สัญญา การหมายรู้
1.4 สังขาร การกระทำ
1.5วิญญาณ การรับรู้ผผ่านประสาททั้ง 5
1.5.5 การรับรู้ทางกาย กายวิญญาณ
1.5.6 การรู้ทางใจ มโนวิญญาณ
15.4 การรับรู้ทางลิ้น ชิวหาวิญญาณ
1.5.3 การรับรู้ทางจูมก ฆานวิญญาณ
1.5.2 การรับรู้ทางหู โสตวิญญาณ
1.5.1 การรับรู้ทางสายตา จักขุวิญญา
1.1.2
ไตรลักษณ์
1.2.2 อนิจจา ภาวะที่ไม่คงถาวรหรือไม่เที่ยง
1.2.3 ทุกขตา ภาวะที่ทนไม่ได้ไม่สมบูรณ์
1.1.4 อนันตตตา ภาวะที่ไม่มีตัวตน
2
.สมุทัย ธรรมที่ควรละ
3.1หลักธรรม วัฏฏะ 3
กิเลสวัฏฏะ กิเลส
กรรมวัฏฏะ กรรม
วิบากวัฏฏะ วิบาก
3.2 ปปัญจธรรม 3
มานะ ความความถือตัว ทนงตัว
ทิฏฐิ ความยึดติดในความคิดห็น
ตัณหา ความเห็นแก่ตัว
สมุทัย สาเหตุของการเกิดทุกข์
3
.นิโร ธธรมที่ควรบรรลุ
นิโรธ ความดับทุกข์
อัตถะ คุณประโยชน์คำวอนของพระพุทธเจ้า
ทฏฐธัมมิกัตถะ ผลที่มองเห็น
สัมปรยิกัตถะ ประโยชน์ที่เป็นคุณค่าของชีวิต
ปรมัตถะ ปะระโชน์ที่เป็นสาระแท้จริง
4
.มรรค ธรรมที่ควรเจริญ
4.1 มรรค์มีองค์ 8 ความดับทุกข์
2.สัมมาสังกัปปะ ความคิดในทางที่ถูก
3.สัมมาวาจา เว้นจากการพุดจาในทางที่ไม่ควร
สัมมาทิฐิ ความเข้าใจ
4.สัมมากัมมันตะ การกระทำที่เป็นกายสุจริต
5.สัมมาอาชีวะ การทำหากินด้วยอาชีพสุจริต
6.สัมมาวายามะ ความเพรียรพยายามทางจิต
7.สัมมาสติ การตั้งสติพิจารณา
8.สัมมาสมาธิ การตั้งจิตใจให้แน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน
4.2 ปัญญา3 รู้แจ่มแจ้งรู้หมดแต่นับว่าปัญญาที่แท้จริง
4.1 สุตมยปัญญา ปัญญาเกิดการฟังรวมถึงการศึกษา
4.2 จินตามยปัญญา ปัญญาเกิดการคิด
4.3 ภาวนายปัญญา เกิดจากการลงมือ