Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักธรมที่อยู่ภายใต้อริยสัจ 4 (มรรค คือ หนทางเเห่งการดับทุกข์…
หลักธรมที่อยู่ภายใต้อริยสัจ 4
ทุกข์ คือ ความไม่สบายใจ
ไตรลักษณ์ คือ ความปกติของธรรมชาติ
ทุขตา คือ ความผิดหวังที่เกิดจากสิ่งที่ไม่เป็นไปตามความประสงค์ของตนเอง
อนัตตตา คือ ความไม่ใช่ตัวตน หรือ ความไม่มีตัวตน
อนิจจา คือ ความไม่เที่ยง
ขันธ์ 5 คือ ร่างกาย
สัญญา คือ การรู้จักว่าอะไรเป็นอะไร
สังขาร คือ การกระทำ
เวทนา คือ ความรู้สึก
ความรู้สึกไม่สบายใจ เรียกว่า ทุกขเวทนา
ความรู้สึกเฉยๆ เรียกว่า อุเบกขาเวทนา
ความรู้สึกสบายใจ เรียกว่า สุขเวทนา
วิญญาณ การรับรู้ผ่านประสาททั้ง 5
การรับรู้ทางตา คือ การมองเห็น
การรับรู้ทางหู คือ การได้ยิน
การรับรู้ทางจมูก คือ การได้กลิ่น
การรับรู้ทางลิ้น คือ การลิ้มรส
การรับรู้ทางกาย คือ การสัมผัสทางกาย
การรับรู้ทางใจ คือ การคิด
รูป คือ ร่างกายของเรา
สมุทัย คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์
วัฏฏะ 3 คือ การเวียนว่ายตายเกิด
กรรมวัฏฏะ คือ กรรม
วิบากวัฏฏะ คือ วิบาก
กิเลสวัฏฏะ คือ กิเลส
ปปัญยธรรม 3 คือ กิเลสเครื่องเนิ่นช้า เป็นตัวการทำให้คิด
มานะ คือ ความทนงตัว
ทิฏฐิ คือ ความยึดติดในความเห็นของตน
ตัณหา คือ ความเห็นเเก่ตัว
นิโรธ คือ ความดับทุกข์
อัตถะ คือ ประโยชน์ หรือจุดหมาย
สัมปรายิกัตถะ คือ ลึกล้ำเกินกว่าจะมองเห็น
ปรมัตถะ คือ การรู้ทันตามความเป็นจริง
ทิฏฐธัมมิกัตถะ คือ ผลที่มองเห็น
มรรค คือ หนทางเเห่งการดับทุกข์
มรรคมีองค์ 8 คือ ข้อที่ทำให้พ้นทุกข์ 8 ข้อ
สัมมากัมมันตะ (ปฏิบัติชอบ) หมายถึง เจตนาละเว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
สัมมาวาจา (วาจาชอบ) หมายถึง การมีวจีสุจริต 4
พูดหยาบคาย
พูดส่อเสียด
การเว้นจากการพูดเท็จ
และพูดเพ้อเจ้อ
สัมมาสติ (สติชอบ) หมายถึง การมีสติกำหนดระลึกรู้อยู่เป็นตลอดว่ากำลังทำอะไรอยู่
สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ) หมายถึง มีความคิดที่ถูกต้อง
สัมมาสมาธิ (สมาธิชอบ) หมายถึง คือความตั้งใจมั่นโดยถูกทาง
สัมมาทิฐิ (คิดชอบ) หมายถึง ความเห็นที่ถูกต้อง
สัมมาวายามะ (ความเพียรชอบ) หมายถึง ความเพียรพยายามที่ถูกกต้อง
ปัญญา 3 คือความเข้าใจชัดในสิ่งต่าง ๆ ซึ่งเป็นความรู้ทั่วถึงเหตุผล
จินตมยปัญญา เป็นปัญญาที่เกิดจาการเอาสุตมยปัญญาที่ได้เรียนรู้
ภาวนามยปัญญา เป็นปัญญาที่เกิดจาการปฏิบัติจนรู้แจ้งเห็นจริงด้วยตนเอง
สุตมยปัญญา เป็นปัญญาที่เกิดจากการได้ฟัง ได้อ่าน ได้เรียนรู้เรื่องราวจากผู้อื่น
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ (สิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญ ๑๐ ประการ)
๕. ช่วยเหลือสังคมรอบข้าง ช่วยเหลือสละแรงกาย เพื่องานส่วนรวม
(ไวยาวัจจมัย)
๖. เปิดโอกาสให้คนอื่นมาร่วมทำบุญกับเรา(ปัตติทานมัย)
๔. อ่อนน้อมถ่อมตน ผู้น้อยอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ (อปจายนมัย)
๗. ยอมรับและยินดีในการทำความดี(ปัตตานุโมทนามัย)
๓. เจริญภาวนา ก็เป็นบุญ (ภาวนามัย) การภาวนาเป็นการพัฒนาจิตใจและปัญญา ทำให้จิตสงบ
ฟังธรรม บ่มเพาะสติปัญญาให้สว่างไสว(ธรรมสวนมัย)
แสดงธรรม ให้ธรรมะและข้อคิดที่ดีกับผู้อื่น (ธรรมเทศนามัย)
๑. ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญ (ทานมัย)
ทำความเห็นให้ถูกต้องและเหมาะสม(ทิฏฐุชุกรรม)
๒. รักษาศีล ก็เป็นบุญ (ศีลมัย) เป็นการฝึกฝนที่จะ ลด ละ เลิกความชั่ว ไม่ไปเบียดเบียนใคร
อุบาสกธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญของอุบาสก
พรั่งพร้อมด้วยความเลื่อมใส ในพระภิกษุทั้งหลาย
5.ฟังธรรมโดยมิใช่จะตั้งใจคอยจ้องจับผิด หรือหาช่องทางที่จะติเตียน
ศึกษาในอธิศีล คือฝึกอบรมตนให้ก้าวหน้าในการปฏิบัติรักษาศีลขั้นสูงขึ้นไป
6.ไม่แสวงหาทักขิไณยนอกหลักคำสอนนี้ คือ ไม่แสดงหาเขตบุญนอกหลักพระพุทธศาสนา
ไม่ละเลยการฟังธรรม
กระทำความสนับสนุนในพระศาสนานี้เป็นเบื้องต้น คือ ช่วยทำนุบำรุงและช่วยกิจการพระพุทธศาสนา
ไม่ขาดการเยี่ยมเยือนพบปะพระภิกษุ
มงคล 38 ประการ ธรรมอันนำมาสู๋ความเจริญ