Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักธรรมภายใต้อริยสัจ4 (1.ทุกข์ (1.1 ขันธ์5 (องค์ประกอบชีวิต) (1.1.5…
หลักธรรมภายใต้อริยสัจ4
1.ทุกข์
1.1 ขันธ์5 (องค์ประกอบชีวิต)
1.1.3 สัญญา (ความหมายรู้ การแยกแยะ)
1.1.4 สังขาร (การกระทำ)
1.1.2 เวทนา (ความรู้สึก)
1.1.1.1 ความรู้สึกสบายใจ"สุขเวทนา"
1.1.1.2 ความรู้สึกไม่สบายใจ"ทุกขเวทนา"
1.1.1.3 ความรู้สึกเฉยๆ"อุเบกขาเวทนา"
1.1.5 วิญญาณ (การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5และใจ)
1.1.1.3 การรับรู้ทางจมูก
1.1.1.4 การรับรู้ทางลิ้น
1.1.1.2 การรับรู็ทางหู
1.1.1.5 การรับรู้ทางกาย
1.1.1.6การรับรู็ทางใจ
1.1.1.1 การรับรู้ทางตา
1.1.1 รูป (ร่างกาย)
1.2 ไตรลักษณ์ (ลักษณะ3ประการ)
1.2.2 ทุกขตา (ภาวะที่ทนไม่ได้พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา)
1.2.3 อนัตตตา (ภาวะที่ไม่มีตัวตน)
1.1.1.1 ไม่มีตัวตน ไม่ใช่ตัวตนของคน
1.1.1.2 ไม่มีตัวตนที่แท้จริง
1.2.1 อนิจจตา (ภาวะที่ไม่คงทนถาวร)
2.สมุทัย
2.1หลักธรรม (วัฏฏะ3)
2.1.2 กรรมวัฏฏะ (กรรม)
2.1.3 วิบากวัฏฏะ (วิบาก)
2.1.1 กิเลสวัฏฏะ (กิเลส)
2.2 ปปัญจธรรม 3 (กิเลสที่ทำให้การศึกษาพุทธศาสนาไม่ดำเนินไปด้วยดี)
2.2.2 มานะ (ความถือตัว)
2.2.3 ทิฏฐิ (ความยึดติดติดในความเห็นของตน)
2.2.1 ตัณหา (ความเห็นแก่ตัว)
3.นิโรธ
3.1 นิโรธ (ความดับทุกข์)
3.1.1 อัตถะ (ประโยขน์หรือจุดหมาย)
3.1.1.1ประโยชน์ของการปฏิบัติธรรม
3.1.1.1.2 สัมปรายิกัตถะ (ประโยชน์ขั้นกลาง)
3.1.1.1.1 ทิฏฐธัมมิกัตถะ (ประโยชน์ขั้นต้น)
3.1.1.1.3 ปรมัตถะ(ประโยชน์ขั้นสูงสุด)
4.มรรค
4.1 มรรคมีอง8 (วิธีดับตัณหา)
4.1.4 สัมมากัมมันตะ(การทำงานชอบ)
4.1.5 สัมมาอาชีวะ(เลี้ยงชีพชอบ)
4.1.3 สัมมาวาจา(เจรจาชอบ)
4.1.6 สัมมาวายามะ(พยายามชอบ)
4.1.2 สัมมาสังกัปปะ(ความดำริชอบ)
4.1.7 สัมมาสติ(ตั้งสติชอบ)
4.1.1 สัมมาทิฐิ(ความเห็นชอบ)
4.1.8 สัมมาสมาธิ(การตั้งจิตมั่นชอบ)
4.2 ปัญญา 3( ความรู้ทั่วถึง )
4.2.3 ภาวนามยปัญญา (ปัญญาเกิดจากการลงมือทำ)
4.2.1 สุตมยปัญญา (ปัญญาที่เกิดจากการฟัง)
4.2.2 จินตามยปัญญา (ปัญญาที่เกิดจากการคิด)