Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักธรรมทางพระพุทธศานา (อริยสัจ 4 (มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) (โภคอาทิยะ 5 …
หลักธรรมทางพระพุทธศานา
พระรัตนตรัย หมายถึง เเก้วสามดวง
องค์ประกอบของพระรัตนตรัย
พระธรรม
คือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
พระสงฆ์
คือ สาวกของพระพุทธเจ้า เผยเเผ่คำสอนให้กับประชาชน
พระพุทธ
คือ องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า
ความหมายของธรรมะ เเละพระธรรม
ธรรมะ
เเปลว่า ธรรมดา ความจริง คุณงามความดี ความประพฤติชอบ
พระธรรม
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีถึง 89,000 ข้อ (พระธรรมขันธ์) เรียกว่า "พระไตรปิฎก"
คุณค่าของพระธรรม หรือ ธรรมคุณ
พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีเเล้ว
เป็นความจริงไม่เปลื่ยนเเปลง
ผู้ปฏิบัติพึงเห็นชัดด้วยตนเอง ไม่เชื่อคำตามผู้อื่น
เชิญชวนให้มาพิสูจน์ เป็นของที่ดีจริง
พระนิพพาน
รู้ได้เฉพาะตนเอง
อริยสัจ 4
ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้เท่าทัน)
โลกธรรม 8
เป็นสิ่งที่หลีกหนีไม่พ้น
สิ่งที่น่าพอใจ
มีลาภ
มียศ
สรรเสริญ
สุข
สิ่งที่ไม่น่าพอใจ
เสื่อมลาภ
เสื่อมยศ
นินทา
ทุกข์
สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
กฏแห่งกรรม : นิยาม5 ประการ
อุตุนิยาม
เกี่ยวกับความเป็นไปของธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง
พืชนิยาม
หลักความจริง หว่านพืชเช่นไรย่อมได้ผลเช่นนั้น
จิตตนิยาม
เกี่ยวกับการทำงานของจิต
ถ้าเรียนอยู่เเล้วเกิดเสียงดัง อาจทำให้ไม่มีสมาธิในการเรียนได้
กรรมนิยาม
พฤติกรรมของมนุษย์ ดูจากเจตนาเป็นหลัก
เจตนาดีได้ดี
เจตนาชั่วได้ชั่ว
ธรรมนิยาม
ทุกสิ่งบนโลกเป็นสิ่งไม่เที่ยง
กรรมนิยาม
หมวดที่1 ตามเวลา
1.ให้ผลในปัจจุบัน ในชาตินี้
2.ในภพที่จะไปเกิด ในชาติหน้า
3.ในภพต่อๆไป
อโหสิกรรม
หมวดที่2 ตามหน้าที่
5.ตัวนำไปเกิดใหม่
6.กรรมสนับสนุนหรือซ้ำเติม
ถ้าเกิดในตระกูลดี ก็จะดียิ่งขึ้น
ถ้าเกิดในตระกูลต่ำ ก็จะต่ำลง
7.กรรมบีบคั้นหรือสนับสนุนหันเหทิศทาง
8.กรรมตัดรอนให้ผลของกรรมขาดหรือหยุดไป
หมวดที่3 ตามหน้าที่
9.กรรมหนักให้ผลก่อน
ฝ่ายดี
สมาบัติ 8
ฝ่ายไม่ดี
อนันตริยกรรม
10.กรรมทำมากเป็นประจำ ให้ผลรองจากกรรมหนักให้ผลก่อน
11.กรรมที่ใจระลึกได้ก่อนตาย
12.กรรมที่ไม่ได้เจตนาโดยตรง ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
มิจฉาวณิชชา 5
การค้าขายที่ผิดศีลธรรม
ค้าอาวุธ
ค้ามนุษย์
ค้าสัตว์สำหรับทำเป็นอาหาร
ค้าของมึนเมา
ค้ายาพิษ ยาเสพติดทุกชนิด
นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
วิมุตติ5
ความหลุดพ้นจากกิเลส
ข่มกิเลสด้วยสมาธิ
หลุดพ้นด้วยธรรมที่เป็นฝ่ายตรงกันข้าม
เอาชนะการตระหนี่ด้วยการให้ทาน
หลุดพ้นความโกรธด้วยความเมตตา
หลุดพ้นด้วยการตัดขาด
หลุดพ้นด้วยความสงบ
หลุดพ้นอย่างถาวร
มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
อปริหานิยธรรม
คือ ธรรมที่ทำให้ไม่เสื่อม
ฝ่ายบ้านเมือง
(วัชชีอปริหานิยธรรม)
หมั่นประชุมเป็นนิตย์
ความพร้อมเพรียงกันประชุม และพร้อมเพรียงหลังประชุม
.เคารพนับถือผู้ที่เป็นใหญ่และเชื่อฟังคำของท่าน
นักเรียนเคารพเชื่อฟังครูอาจารย์
คุ้มครองสตรีและไม่ให้เด็กถูกข่มเหงรังแก
เคารพ บูชาปูชนียสถานที่สำคัญ เป็นการรวมใจที่สำคัญเพื่อให้เกิดความกลมเกลียวในสังคม
ไม่บัญญัติในสิ่งที่ไม่ได้บัญญัติ ไม่เพิกถอนในสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว
คุ้มครองป้องกันบรรพชิตผูมีศีลมีธรรมไม่ปล่อยให้มีการทำร้ายท่าน
ฝ่ายคณะสงฆ์
(ภิกขุอปริหานิยธรรม)
หมั่นประชุมเป็นประจำ
กระทำกิจที่สงฆ์ต้องทำ
อยู่ในสิกขาบทตามที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้
เคารพพระภิกษุผู้เป็นใหญ่ในคณะสงฆ์
ไม่ลุอำนาจแก่ความอยากที่เกิดขึ้น
ภิกษุควรหาเวลาปลีกวิเวกพื่อปฏิบัติธรรม
ให้ภิกษุมีเมตตาต่อกัน ไม่กีดกันเรื่องอาหารและที่พัก
ปาปณิกธรรม 3
หลักพ่อค้า หรือคุณสมบัติของพ่อค้า
จักขุมา
เป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล
วิธูโร
มีความชำนาญในธุรกิจ มีความสามารถทางการค้า หลักการเป็นนักธุรกิจ
นิสสยสัมปันโน
มีแหล่งทุนให้พึ่งพาอาศัย เป็นที่ไว้วางใจแหล่งทุนต่างๆ
ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4
อุฏฐานสัมปทา
มีความขยันหมั่นเพียรในการศึกษาหรือการทำงาน
อารักขสัมปทา
รู้จักรักษาทรัพย์สินที่หามาได้ ไม่ให้สูญหาย
กัลยาณมิตตตา
รู้จักคบแต่เพื่อนดี เอาเยี่ยงอย่างคนดีเป็นแนวปฏิบัติ
สมชีวิตา
ดำรงชีพอย่างพอเหมาะ
โภคอาทิยะ 5
ประโยชน์ที่ได้จากการโภคทรัพท์
เลี้ยงบิดา มารดา
คนในปกครองให้เป็นสุข
เลี้ยงเพื่อนฝูง และผู้ร่วมกิจการงานให้เป็นสุข
.ทำพลี (
เสียสละเพื่อช่วยหรือบูชา)
สงเคราะห์ญาติ
ต้อนรับแขก
ทำบุญอุทิตให้ผู้ตาย
เสียภาษี
อุทิศให้กับสิ่งที่ควรเคารพบูชา
ใช้ป้องกันภัยอันตราย
บำรุงผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบ
อริยวัฑฒิ 5
ความเจริญอันประเสริฐ
ศรัทธา
กัมมศรัทธา
เชื่อว่าบุญบาปมีจริง
วิปากศรัทธา
เชื่อในผลของกรรม
กัมมัสสกตาศรัทธา
เชื่อว่าทุกคนมีกรรมเป็นของตัวเอง
ทำดีดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
ตถาคตโพธิศรัทธา
เชื่อมั่นในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
ศีล
การประพฤติดี ประพฤติชอบ มีวินัย ศรัทธาในสิ่งที่ถูกต้อง
เพื่อให้เกิดผลดีกับการดำรงชีวิต
สุตะ
การสดับฟังหรือการหมั่นศึกษาเล่าเรียน
จาคะ
รู้จักสละกิเลสของตนเอง
ปัญญา
ความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ รอบรู้ในสิ่งที่ควรรู้
มงคล 38
เป็นสิ่งที่ชี้ประโยชน์ทำให้ได้รับความสำเร็จและความเจริญแก่ชีวิต
ถูกต้องโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว
เป็นผู้มีความเท่าทันกับชีวิต
กล้าเผชิญหน้ากับสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง
จิตไม่เศร้าโศก
รู้เท่าทันและยอมรับความจริง
ปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับความจริง
จิตไม่มัวหมอง
หลักธรรมที่กำจัดกิเลส (อกุศลมูล)
ไม่โลภ รู้จักให้ทาน แบ่งปันผู้อื่น
รู้จักเมตตา ไม่คิดร้ายต่อผู้อื่น
มีสติ รู้จักควบคุมอารมณ์
จิตเกษม
จิตที่ปราศจากการครอบงำจากกิเลส ทำให้รู้แจ้งเห็นจริง
บุคคลธรรมดามีความหลงผิดจะยึดติดกับการเวียนว่ายตายเกิด
กาม
ยึดติดในรูป กลิ่น เสียง รส และสัมผัส
ภพ
ความหลงผิดและการยึดติดกับการเกิดในภพต่างๆ
ทิฐิ
ความติดในทฤษฎีของตัวเองว่าถูกต้อง
อวิชชา
ความไม่รู้