Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยเพื่อการบำบัด (ระยะของสัมพันธภาพ…
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยเพื่อการบำบัด
ความหมาย
กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ทำความรู้จักกัน ติดต่อ สัมพันธ์สร้างความคุ้นเคยสนิทสนมกัน บุคคลที่สัมพันธ์กันจะได้รับผลกระทบจากกันและกัน
ประเภคของสัมพันธภาพ
สัมพันธภาพเพื่อสังคม (social relationship)
เพื่อความเป็นเพื่อน (friendship)
เพื่อมุ่งความสำเร็จของงาน
สัมพันธภาพเพื่อการประกอบวิชาชีพ (professional relationship)
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
สัมพันธภาพแบบใกล้ชิด (intimate relationship)
พี่น้อง สามี ภรรยา
ครอบครัว
ระยะของสัมพันธภาพ
ระยะเริ่มต้นการสร้างสัมพันธภาพ (orientation or initial phase)
1.การเตรียมสถานที่และสร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
2.กล่าวทักทายด้วยท่าทีเป็นมิตร
แนะนำตัว
วัตถุประสงค์ที่พบกัน
พยาบาลมีหน้าที่อะไร
3.กำหนดข้อตกลงของสัมพันธภาพ
ระยะเวลาที่สนทนา
ความถี่ของการพบเพื่อสนทนา
เพื่อป้องกันการเกิดความวิตกกังวลเมื่อต้องสิ้นสุดสัมพันธภาพ หรือความวิตกกังวลเมื่อแยกจาก(separation anxiety)
4.สร้างความไว้วางใจ(trust)
การเก็บความลับ
5.การค้นหาหรือระบุปัญหาหรือความต้องการที่แท้จริงของผู้ป่วย
ค้นหาว่าผู้ป่วยมีความเชื่อ/ความคิดอย่างไรกับปัญหาที่เกิดขึ้น
ค้นหาและตอบสนองต่อความกังวลของผู้ป่วยที่มีต่อปัยหหานั้น
เกื้อหนุน/ส่งเสริมให้ผู้ป่วยแสดงความรู้สึกของตัวเอง
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
1.ความวิตกกังวล
ด้านผู้ป่วย/ครอบครัว
การเป็นคนแปลกหน้า
ปัญหายุ่งยากซับซ้อน
ด้านพยาบาล
ขาดความมั่นใจในการสนทนากับผู้ป่วย
ขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ
3.ระยะดำเนินการแก้ปัญหา (working relationship phase)
2.ค้นหาสาเหตุของปัญหาที่มากระทบการดำเนินชีวิต
3.ประเมินความเจ็บป่วยที่มีผลกระทบต่อการดำเนินชิวิตอย่างไรบ้าง
1.รักษาสัมพันธภาพเพื่อการเยี่ยวยาอย่างต่อเนื่อง
4.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยตระหนักในตนเองตามความเป็นจริง
5.ให้การสนับสนุนด้านจิตใจ
การให้เวลา
ให้กำลังใจ
ให้แหล่งข้อมูลในการช่วยเหลือ
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
พยาบาลอึดอัดและกังวลใจในการใช่เทคนิคการสนทนา
พยาบาลไม่เข้าใจหรือไม่เห็นปัญหาของผู้รับบริการ
พยาบาลเกิดความสงสารมากกว่าการเข้าอกเข้าใจผู้ป่วย
ผู้ป่วยต้องการพึงพาพยาบาล
ความรู้สึกต่อต้าน (resistance)
ระยะเตรีียมการหรือก่อนสร้างสัมพันธภาพ(pre-orientation phase)
2.สำรวจตนเองเพื่อให้เกิดความตระหนักรู้
3.การตระหนักรู้ถึงเป้าหมายในการช่วยเหลือเป็นสิ่งสำคัญ
1.รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับผู้ป่วย
4.กำหนดเป้าหมายทั่วไปในการสร้างสัมพันธภาพ
4.ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ (termination phase)
ประเมินความก้าวหน้าและความสำเร็จตามเป้าหมาย
วางแผนเพื่อให้ผู้ได้รับการดูแลต่อเนื่อง
การเตรียมความพร้อมต่อความรู้สึกในการสิ้นสุดสัมพันธภาพ
ประเมินความรู้สึกหรือพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการสิ้นสุดสัมพันธภาพ
ภาวะซึมเศร้า(depression)
ภาวะพึ่งพา (dependence)
ภาวะถดถอย (regression)
ปฏิเสธการสิ้นสุดสัมพันธภาพ(denial)
ก้าวร้าว (aggression)
การป้องกัน
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้สำรวจความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับการแยกจาก
ตกลงและย้ำเตือนเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการมีสัมพันธภาพ
แนะนำแหล่งสนับสนุนอื่นๆ ที่ผู้ป่วยสามารถรับบริการได้
ย้ำเตือนการสิ้นสุดสัมพันธภาพเป็นระยะ