Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อริยสัจ4 ([4.มรรค] (มรรคมีองค์8 หรือ มรรค8 ดังนี้
1.สัมมาทิฐิ
2…
อริยสัจ4
[4.มรรค]
มรรคมีองค์8 หรือ มรรค8 ดังนี้
1.สัมมาทิฐิ
2.สัมมาสังกัปปะ
3.สัมมาวาจา.
4.สัมมากัมมันตะ
5.สัมมาอาชีวะ
6.สัมมาวายามะ.
7.สัมมาสติ
8.สัมมาสมาธิ
มรรคมีองค์8 นี้ เมื่อจัดเข้าในระบบการฝึกหัดอบรมเรียกว่า ไตรสิกขาจัดเป็นศีล สมาธิ และ ปัญญา
ได้ดังนี้
1.หมวดปัญญา
2.หมวดศีล
3.หมวดสมาธิ
ปัญญา3 หมายถึง รู้แจ่มแจ้ง
ปัญญามี 2 ประเภท
1.ปัญญาที่มีมาแต่กำเนิด(สหชาติกปัญญา)
2.ปัญญาที่มีขึ้นมาภายหลังด้วยการศึกษาเล่าเรียน(โยคปัญญา)
การพัฒนาปัญญามี 3 วิธี
[1.]สุตมยปัญญา หมายถึง ปัญญาที่เกิดจากการฟัง ในที่นี้รวมถึงการศึกษาเล่าเรียนทางอื่นด้วย
ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1)ฟังมาก
2)จำได้
3)คล่องปาก
4)เจนใจ
5)ประยุกต์ใช้ได้
[2.]จินตามยปัญญา หมายถึง ปัญญาที่เกิดจากการคิด หลายเรื่องที่ได้ยิน ได้ฟังอ่าน ได้ศึกษามาอาจไม่เข้าใจแจ่มแจ้ง เมื่อนำมาขบคิดพินิจพิจารณาอย่างถี่ถ้วน ก็ย่อมเข้าใจและหายสงสัยได้
[3.]ภาวนายปัญญา หมายถึง ปัญญาเกิดจากการลงมือทำจึงลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังต่อเนื่อง ในที่สุดก็ได้พบปัญญาที่แท้จริง
[1.ทุกข์]
เวทนา คือ ความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อสิ่งที่รับรู้นั้น
เวทนามีอยู่3อย่างได้แก่ •ความรู้สึกสบายใจ เรียกว่า สุขเวทนา
•ความรู้สึกไม่สบายใจ เรียกว่า ทุกขเวทนา
•ความรู้สึกเฉยๆ เรียกว่า อุเบกขาเวทนา
-
-
สังขาร หมายถึง เป็นขั้นตอนที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม
ซึ่งมีทั้งฝ่ายดี เช่น ศรัทธนา หิริ สติ กรุณา ปัญญา เป็นต้น
ส่วนฝ่ายชั่ว เช่น โลภะ มานะ ทิฐิ มัจฉริยะ เป็นต้น
วิญณาญ คือ การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5 ได้แก่
1)การรับรู้ทางตา
2)การรับรู้ทางหู
3)การรับรู้ทางจมูก
4) การรับรู้ทางลิ้น
5) การรับรู้ทางกาย
6) การรับรู้ทางใจ
.ไตรลักษณ์
-
-
อนัตตตา หมายถึง ภาวะที่ไม่มีตัวตน มีความหมาย 2 นัย คือ 1)ไม่ใช่ตัวตนของคน สิ่งที่เป็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ 2) ไม่มีตัวตนที่แท้จริง ไม่มีวิญญาณถาวร
-
[3.นิโรธ]
-
ประโยชน์ที่ผู้ปฏิบัติธรรมจะพึงได้รับจึงแบ่งเป็น 3 ประเภท สูงต่ำตามภูมิธรรมที่ปฏิบัติดังนี้
1.ทิฏฐธัมมิกัตถะ(ประโยชน์ขั้นต้น)
2.สัมปรายิกัตถะ(ประโยชน์ขั้นกลาง)
3.ปรมัตถะ(ประโยชน์ขั้นสูงสุด)