Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Alkane Alkene Alkyne และ Aromatic HC. (Alkane (สมบัติทางกายภาพ…
Alkane Alkene Alkyne และ Aromatic HC.
Alkyne
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว มีสูตรโมเลกุลทั่วไปคือ CnH2n-2
ประกอบด้วยพันธะสาม ระหว่างอะตอมของคาร์บอน 1 พันธะ
การเรียกชื่อ IUPAC
โซ่ตรงให้อ่านเหมือนแอลคีนเเต่เสียงท้ายเปลี่ยนเป็น ไ-น์ (-yne)
กำหนดตำเเหน่ง C โดยปลายโซ่ด้านที่มีตำแหน่งของพันธะสามเป็นเลขน้อยที่สุด
โซ่กิ่งให้อ่านเหมือนเเอลคีนโซ่กิ่งเเต่เสียงท้ายเปลี่ยนเป็น ไ-น์ (-yne)
สมบัติทางกายภาพ
ไม่ละลายน้ำเเต่ทำละลายในตัวทำละลายที่มีขั้ว
เเรงยึดเเนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นเเรงเเวนเดอร์วาลส์ จุดเดือดสูงกว่าเเอลเคนที่อะตอมคาร์บอนเท่ากัน
จุดเดือดจุดหลอมเหลวเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุล
สมบัติทางเคมี
ปฏิกิริยาการเผาไหม้
เกิดเขม่ามากกว่าแอลคีน เผาไหม้อย่างสมบูรณ์จะได้ CO2 เเละ H2O เป็นผลิตภัณฑ์
เช่น 2C2H2(g) + 5O2(g → 4CO2(g) + 2H2O(g)+ ความร้อน
ปฏิกิริยาการเติม
ทำปฏิกิริยากับสารที่ใช้เติมตรงพันธะสาม
เติมกับธาตุเเฮโลเจน หรือ ปฏิกิริยาแฮโลจีเนชันได้ ไดเเฮโลเเอลเคนเเละเตตระเเฮโลแอลเคนเป็นผลิตภัณฑ์
ไซโคลแอลไคน์
โมเลกุลเล็กที่สุดของไซโคลเเอลไคน์คือ C 8 อะตอม
การเรียกชื่อให้ใช้คำว่า ไซโคลน้ำหน้าชื่องของเเอลไคน์
Aromatic HC.
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวเเละมีโครงสร้างเป็นโซ่ปิด
การเรียกชื่อ IUPAC
เมื่อมีหมู่เเอลคิลสร้างพันธะกับวงเเหวนของเบนซีน ให้กำหนดตำเเหน่งอะตอมของ C โดยเริ่มจากอะตอมที่มีหมู่เเอลคิลต่ออยู่เป็นตำเเหน่งที่ 1 ให้อ่านชื่อหมู่เเอลคิลนำหน้าเบนซีน
อ่านชื่อเหมือนเเอลเคนมีโซ่กิ่ง เเต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็นเบนซีน
หมู่เเอริล
คือ วงเเหวนที่เบนซีนเสียอะตอมของ H ตั้งเเต่ 1 อะตอมขึ้นไป
สมบัติทางกายภาพ
มีสถานะเป็นของเหลวใสไม่มีสี
ไม่ละลายน้ำเนื่องจากเป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว มีกลิ่นเฉพาะตัว
จุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำกว่าสารอื่นที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน
สมบัติทางเคมี
การเผาไหม้
เบนซีนติดไฟเเละให้เปลวไฟสว่าง มีควันเเละเขม่ามากกว่าเเอลคีนเเละแอลไคน์
ปฏิกิริยาการเเทนที่
เเทนที่ด้วยหมู่ VIIA โดยมี FeCI3 หรือ FeBr3 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาการเติม
ไฮโดรจีเนชัน เกิดขึ้นได้เมื่อเพิ่มความดันเเละอุณหภูมิโดยมีนิกเกิลเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ไม่ฟอกจางสี KMnO4
ประโยชน์
เป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมการผลิตยา สีย้อม พลาสติก เเละใช้เป็นตัวทำละลาย
Alkane
หรือพาราฟิน เป็นสารประกอบโฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว
สูตรโมเลกุลทั่วไปของแอลเคน คือ CnH2n+2
การเรียกชื่อแอลเคน
1.แอลเคนโซ่ตรงให้เรียกตามจำนวนอะตอมของ C แล้วเปลี่ยนท้ายเป็น เ-น (-ane)
2.แอลเคนโซ่กิ่งกำหนดอะตอมของ C ในโซ่หลักโดยตำแหน่งที่ 1 เริ่มจากปลายโซ่ที่มีหมู่แอลคิลต่ออยู่ใกล้ที่สุดของตำเเหน่งที่ 1
สมบัติทางกายภาพ
เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว ไม่ละลายน้ำ
จุดหลอมเหลวเเละจุดเดือดเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลเนื่องจากเป็นสารประกอบโคเวเลนต์
โซ่ตรงมีจุดเดือดสูงกว่าโซ่กิ่งเพราะมีพื้นที่ผิวมากกว่า
แอลเคนไม่นำไฟฟ้าทุกสถานะ
สมบัติทางเคมี
ปฏิกิริยาการเผาไหม้
แอลเคนติดไฟได้ดีเเละไม่มีเขม่า
ถ้าเผาไหม้เเล้วมีแก็สออกซิเจนเพียงพอจะทำให้เกิด ปฏิกิริยาสมบูรณ์ เช่น
2C4H10(g) + 13O2(g → 8CO2(g) + 10H2O(g)
ปฏิกิริยาการแทนที่
สามารถเกิดปฏิกิริยากับเเฮโลเจน โดยอะตอมของเเฮโลเจนจะแทนที่อะตอมของไฮโดรเจน 1 อะตอม
ถ้าเเทนที่ด้วยโบรมีน เรียกว่า โบรมิเนชัน
แอลเคนไม่เกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลาย
แอลเคนไม่เกิดปฏิกิริยาเเทนที่ในที่มืด
ประโยชน์
ใช้เป็นเชื้อเพลิงของเครื่องยนตร์ในอุตสาหกรรมเเละในครัวเรือน
เป็นผลิตภัณฑ์จากการกลั่นลำดับส่วนปิโตรเลียม
ไซโคลแอลเคน
มีสูตรโมเลกุลทั่วไปคือ CnH2n การเรียกชื่อเหมือนเเอลเคน นับจำนวน C แล้วอ่านไซโคล
Alkene
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว มีสูตรโมลเลกุลทั่วไปคือ CnH2n
หรือโอเลฟิน มีสูตรโครงสร้างเป็นโซ่เปิด มีพันธะคู่ 1 พันธะ
การเรียกชื่อ IUPAC
1.โซ่ตรง ให้นับจำนวนอะตอม C กำหนดตำเเหน่งเเล้วดูว่าพันธะคู่อยู่ที่ตำแหน่งใด โดยนับจาห C ตำเเหน่งที่ใกล้พันธะคู่มากที่สุด ใส่เลขอะตอมพันธะคู่-จำนวนอะตอม เปลี่ยนเป็น อีน (-ene)
2.โซ่กิ่ง เขียนตัวเลขตำแหน่ง C ที่่มีหมู่ R- แล้วขีด (-) อ่านชื่อหมู่ R- แล้วขีด (-) ใส่เลขตำแหน่ง C อะตอมที่มีพันธะคู่ แล้วขีด (-) อ่านจำนวน C เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น (-ene)
สมบัติทางเคมี
ปฏิกิริยาการเผาไหม้
ติดไฟง่าย ได้เเก๊ส CO2 H2O และพลังงานความร้อนและมีคาร์บอนเหลือเป็นเขม่าหาก O2 ไม่เพียงพอ เเต่ถ้าเพียงพอจะไม่เกิดเขม่า
ปฏิกิริยาการเติม
แอลคีนสลายพันธะคู่เเล้วทำปฏิกิริยากับสารอื่นๆได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารประกอบอิ่มตัว
เติมกับธาตุเเฮโลเจน เรียกว่า เเฮโลจีเนชัน
เติมกับเเก๊สไฮโดรเจน เรียกว่า ไฮโดรจีเนชัน
สมบัติทางกายภาพ
จุดหลอมเหลวเเละจุดเดือดเพิ่มตามมวลโมเลกุล
แอลคีนไม่ละลายน้ำเนื่องจากเป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว
ที่ภาวะปกติมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว เเก๊ส ขึ้นอยู่กับจำนวนอะตอมของ C
แอลคีนไม่นำไฟฟ้าทุกสถานะ
ประโยชน์
เอทิลีน หรือ อีทีน ใช้ผลิตพลาสติก
โพรพิลีนหรือโพรพีน ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟ เชือก แห
เอทิลีนไกลคอล ใช้ทำเส้นใยสังเคราะห์
ไซโคลแอลคีน
มีสูตรโมเลกุลทั่วไปคือ CnH2n-2
การเรียกชื่อ เรียกเหมือนไซโคลเเอลเคน เเต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น อีน (-ene)