Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักธรรมภายใต้กรอปอริยสัย4 (4.มรรค (โภคอาทิยะ 5 (3.ใช้ป้องกันภยันตราย, 4…
หลักธรรมภายใต้กรอปอริยสัย4
1.ทุกข์
โลกธรรม8
ฝ่ายอนิฏฐารมณ์
เสื่อมยศ คือ การถูกถอดจากอำนาจที่เคยมี
นินทา คือ การถูกตำหนิติเตียนทั้งต่อหน้าและลับหลัง
เสื่อมลาภ คือ สิ่งที่ได้มาแล้วเสียไป
ทุกข์ คือ ความไม่พอใจ ความพลัดพราก ความไม่สมหวัง ไม่สบายกาย
ฝ่ายอิฏฐารมณ์
มียศ คือ ได้รับการมีอำนาจแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งมีชื่อเสียง
สรรเสริญ คือ ได้รับการยกย่อง คำยอ คำสดุดีต่างๆ
มีลาภ คือ สิ่งที่ทำให้เกิดประโยชน์ ความพึงพอใจ หรือได้มาโดยบังเอิญ
สุข คือความพอใจประสบกับความสมหวัง
2.สมุทัย
กฏแห่งกรรม:นิยาย 5 ประการ
3.จิตตนิยาย เป็นกฏธรรมชาติที่เกี่ยวกับการทำงานของจิต
4.กรรมนิยาม เป็นกฏธรรมชาติที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์
2.พืชนิยาม เป็นกฏธรรมชาติที่เกี่ยวกับการสืบพันธ์ุหรือพันธุกรรมต่างๆ
5.ธรรมนิยาม เป็นกฏธรรมชาติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์และความเป็นไปของสรรพสิ่งในโลก
1.อุตุนิยาม เป็นกฏธรรมชาติที่เกี่ยวกับความเป็นไปของธรรมชาติแวดล้อมและความเปลี่ยรนแปลงทางวัตถุ
กรรมนิยาย
หมวดที่2 จำแนกให้ผลตามหน้าที่
หมวดที3 จำแนกการให้ผลตามหน้าที่
หมวดที่1 จำแนกตามเวลาที่กรรมให้ผล
มิจฉาวณิชชา 5
3.ค้าสัตว์สำหรับฆ่าเป็นอาหาร (มังสวณิชชา)
4.ค้าของมึนเมา (มัชชวณิชชา)
2.มนุษย์ (สัตตวณิชชา)
5.ค้ายาพิษ (วิสวณิชชา) ได้แก่ ยาเสพติดทุกชนิด
1.ค้าอาวุธ (สัตถวณิชชา)
3.นิโรธ
วิมุตติ 5
3.สมุจเฉทิมุตติ การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยการตัดขาด
4.ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยความสงบ
2.ตทังควิมุตติ การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยธรรมที่ฝ่ายตรงข้าม
5.นิสสรณวิมุตติ การหลุดพ้นจากกิเลสอย่างถาวร
1.วิกขัมภนวิมุตติ การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยการข่มกิเลสไว้
4.มรรค
อปริหานิยธรรม 7
ฝ่ายบ้านเมือง
2.พร้อมเพรียงกันประชุมและพร้อมเพรียงกันเลิกประชุม
3.ไม่บัญญัติสิ่งไม่ได้บัญญัติไม่เพิกถอนสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว
1.หมั่นประชุมกันเป็นนิตย์
4.เคารพนับถือผู้ที่เป็นใหญ่และเชื่อฟังคำของท่าน
5.คุ้มครองป้องกันสตรีและเด็กไม่ให้ถูกข่มเหงรังแก
6.เคารพบูชาสักการะนับถือปูชนียสถานที่สำคัญ
7.จัดให้ความอารักขาคุ้มครองป้องกันอันชอบธรรมแก่พระอรหันต์ทั้งหลาย
ฝ่ายคณะสงฆ์
2.พร้อมเพรียงกันในการประชุมและการเลิกประชุม
3.ไม่บัญญัติสิ่งที่พระพุทธเจ้าขึ้นและไม่ถอนสิ่งที่พระองค์บัญญัติไว้
1.หมั่นประชุมกันเป็นประจำ
4.เคารพภิกษุผู้เป็นใหญ่ในคณะสงฆ์
5.ไม่ลุอำนาจแก่ความอยากที่เกิดขึ้น
6.ยินดีในเสนาสนะป่า หมายถึง ภิกษุควรหาโอกาสปลีกวิเวกเพื่อปฏิบัติธรรม
7.เพื่อนภิกษุสามเณรเป็นผู้มีศีลยังไม่มาสู่อาวาส ขอให้อยู่เป็นสุข หมายถึงภิกษุมีเมตตาต่อกัน ไม่กีดกันในเรื่องอาหารและที่พัก
ปาปณิกธรรม 3
2.วิธูโร มีความชำนาญ การค้าขาย การตลาด การส่งเสริมการขายในด้านธรุกิจ
3.นิสสยสัมปันโน มีแหล่งทุนให้พึ่งพาอาศัย
1.จักขุมา มีตาดี ดูของเป็น ปัจจุบันพ่อค้า นักธุกิจ
ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม
2.อารักขสัมปทาคือรู้จักรักษาทรัพย์สิน
3.กัลยาณมิตตตา คือ รู้จักคบแต่คนดีเป็นเพื่อนและให้หลีกเลี่ยงคนชั่ว
1,อุฏฐานสัมปทา คือ มีความขยันหมั่นเพียรในการเรียน
4.สมชีวิตา จับจ่ายใช้สอยทรัพย์สินที่หามาให้พอดีพอสมควร
โภคอาทิยะ 5
3.ใช้ป้องกันภยันตราย
4.ทำพลี (การเสียสละเพื่อช่วยหรือบูชา)
2.เลี้ยงเพื่อนฝูงและผู้ร่วมกิจการงาน
5.อุปถัมภ์บำรุงสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติดี ปฏิบัติดี
1.เลี้ยงตัว มารดา บิดา บุตร ภรรยา
อริยวัฑฒิ 5
1.ศรัทธา ได้แก่ ความเชื่อในพระพุทธศาสนา
2.ศีล ได้แก่ การประพฤติปฏิบัติดี มีวินัย และทำมาหาเลี้ยงชีพด้วยความสุจริต
3.สุตะ ได้แก่ การสดับรับฟัง หรือการหมั่นศึกษาการเล่าเรียน
4.จาคะ ได้แก่ การเผื่อแผ่หรือการเสียสละทั้งวัตถุสิ่งของ กำลังกาย กำลังทรัพย์
5.ปัญญา ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ อันเกิดจากการศึกษา การฟัง การอ่าน
มงคล 38
2.จิตไม่เศร้าโศก (โสกะ) หมายถึง การที่จิตใจหม่นหมอง เพราะประสบความผิดหวัง
3.จิตไม่มัวหมอง จิตปราศจากธุลี หมายถึง ความมัวหมองของจิตใจมนุษย์ที่เกิดจากกิเลส
1.ถูกต้องโลกธรรม จิตไม่หวั่นไหว หมายถึง การไม่เกิดความคิด และความรู้สึกคล้อยตามไปตามโลกธรรม
4.จิตเกษม หมายถึง จิตที่ปราศจากการถูกครอบงำด้วยกิเลส