Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจิตสรีระแปรปรวน (Psychophysiologic disorder) (อาการ (ประสาทอัตโนมัติเป็…
โรคจิตสรีระแปรปรวน (Psychophysiologic disorder)
ความหมายของโรคจิตสรีระแปรปรวน
Psychophysiologic disorder หรือโรคจิตสรีระแปรปรวน มีชื่อเรียกอื่นๆ อีก เช่น Psychosomatic disorder Psychological factors affecting physical condition โรคในกลุ่มนี้ หมายถึง ภาวะที่มีความผิดปกติของร่างกาย หรือโรคทางกายเกิดขึ้นโดยปัจจัย ทางจิตใจมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดโรค หรือทำให้ความผิดปกตินั้นๆมีอาการรุนแรงขึ้น และความผิดปกตินั้น จะต้องมีพยาธิสภาพทางกาย(Organic pathology) หรือพยาธิ สรีรวิทยา(pathophysiology) ปรากฏชัดเจน จึงไม่รวมโรคในกลุ่ม somatoform disorders ซึ่งได้แก่ somatization disorder, conversion, hypocondriasis และ psychogenic pain disorder
อาการ
ระบบกล้ามเนื้อ
มีการหดตัว เกร็งแข็ง
เกิดอาการปวดศีรษะ
ปวดคอ ปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อต่างๆทั่วตัว
ประสาทอัตโนมัติเป็นระบบที่ทำงานโดยไม่สามารถบังคับหรือสั่งการได้ หล่อเลี้ยงอวัยวะภายในทั้งหมด
ปอด
ลำไส้
หัวใจ
หลอดเลือด
ในระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว เต้นผิดจังหวะ
หลอดเลือดที่เลี้ยงหัวใจตีบลง
เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ความดันโลหิตสูง
ประสาทอัตโนมัติมีความเกี่ยวข้องกับสมอง และไขสันหลัง
ความเครียดจะกระตุ้นอารมณ์ในสมอง
การทำงานนั้นอยู่นอกการควบคุมของจิตใจ
ในระบบทางเดินอาหาร
ปวดท้อง แน่นท้อง ท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน ลำไส้ เกิดการหดตัวมากกว่าปกติ
ทำให้เกิดอาการท้องเสีย ถ่ายบ่อย
เกิดการหลั่งกรดมากผิดปกติ ทำให้กระอาหารเป็นแผล
สาเหตุ
โรคนี้มักเป็นในวัยรุ่นและเป็นต่อเนื่องไปถึงวัยผู้ใหญ่
เกิดสัมพันธ์กับความเครียดในการดำเนินชีวิต
ปัญหาในการทำงาน
เกิดความเจ็บป่วยทางร่างกายมากๆจนไม่สามารถทำงานได้เต็มที่
การวินิจฉัย
โรคนี้สามมารถวินิจฉัยได้ด้วยตนเองโดยการประเมินตนเองจากมีความเครียด
การรักษา
1.การรักษาโดยแพทย์ทั่วไป
1.2 การรักษาอาการทางกาย ให้การรักษาตามอาการของโรคทางกายแต่ละชนิด
1.3 การช่วยเหลือด้านจิตใจและสังคม
การให้คำอธิบาย(explanation)
การชี้แนะ(directive technique)
การให้ความมั่นใจ(reassurance)
การเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกคับข้องใจต่างๆ(ventilation)
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม(environmental manipulation)
1.1 การวินิจฉัย แพทย์ผู้รักษาอาจจะต้องได้รับการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และตรวจสภาพจิตโดยละเอียด
การรักษาทางจิตเวช
แพทย์ผู้รักษาอาจจะปรึกษาจิตแพทย์ให้ช่วยดูแลรักษาผู้ป่วยร่วมกันได้
การรักษาทางจิตเวชที่ใช้ในโรคจิตสรีระแปรปรวน
Relaxation therapy 2.2.3 Biofeedback
Group & family therapy
การทำจิตบำบัด (psychotherapy)
การป้องกัน
การส่งเสริมสุขภาพจิตทั่วๆไป
การให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคจิตสรีระแปรปรวนที่พบบ่อย
ความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ
Stress management การจัดโปรแกรมลดความเครียดต่างๆ
ความเครียดในการทำงาน
การดำเนินชีวิตทั่วๆไป