Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกศา (หมวด ๒ ทั่วไป…
พระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกศา
คำนิยาม ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาหมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตาม พระราชบัญญัติรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน
หมวด ๑
คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกย่อว่า "ก.ค.ศ" ประกอบด้วย
ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
กรรมการโดยตำแหน่ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
กรรมการผู้แทนราชการครู
การประชุมก.ค.ศ. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
อำนาจตั้งคณะอนุกรมการวิสามัญ เรียก "อ.ก.ค.ศ.วิสามัญ" ซึ่งทำหน้าที่เดียวกับ ก.ค.ศ.
พิจารณาเรื่องการดำเนินการทางวิจัย
การออกจากราชการ
การอุทธรณ์กับการร้องทุกข์
หมวด ๒ ทั่วไป
หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยยืดถือกฏหมาย
ระบบคุณธรรม
ความเสมอภาคระหว่างบุคคล
การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
ถิ่นกำหนด
เชื้อชาติ
ภาษา
เพศ
อายุ
ศาสนา
อัตราเงินเดือน
เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งไม่ถือเป็นเงินเดือน
ประโยชน์ในการออมทรัพย์ของราชการครูและบุคลาการ
ทางการศึกษา
กระทรวงการคลังหักเงินเดือนของข้าราชการครูเป็นเงินสะสมได้
คิดดอกเบี้ยสะสมไม่ต่ำกว่าที่ฝากประจำกับธนาคารพานิชณ์
เงินสะสมและดอกเบี้ยนี้จะจ่ายคืนหรือให้กู้ยืมเพื่อดำเนินการตามโครงการ
หมวด ๓
การกำหนดตำแหน่ง
วิทยฐานและการให้ได้รับเงินเดือน
เงินวิทยฐานและรับเงินเดือนประจำตำแหน่ง
ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา
ครูผู้ช่วย
ครู
อาจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์
ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
ผู้อำนวยการสถานศึกษา
รองผู้อำนวยการสำนักงานสถานศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา
ผู้อำนวยการสำนักงานสถานศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา
หมวด ๔ การบรรจุและการแต่งตั้ง
การบรรจุเข้ารับข้าราชการโดยบรรจุและแต่งตั้งตาลำดับใน
บัญชีผู้สอบแข่งขันได้
ผู้ดำรงตำแหน่งครุมีสิทธิสมัครสอบแข่งขันได้ก็ต่อเมื่อพ้นจากตำแหน่งนั้นๆแล้ว
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้ดำเนินการสอบแข่งขัน
ก.ค.ศ.อาจกำหนดสัญญาจ้างรายปีโดยไม่ต้องเป็นข้าราชการได้
การย้ายข้าราชการพลเรือนไปบรรจุดำรงตำแหน่ง
หมวด ๕
การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หลักเกณฑ์เลื่อนขั้นเงินเดือนให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฏ ก.ค.ศ.
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถึงแก่กรรมจากการปฏิบัติหน้าที่ให้จัดสวัสดิการแก่ครอบครัว
ต้องมีความซื่อสัตย์สุจริตห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอำนาจและหน้าที่ของตน
หมวด ๖ วินัยและการรักษาวินัย
การขัดคำสั่งหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา
ก่อให้เกิดเหตุเสียหายแก่ราชการร้ายแรง เป็นการผิดวินัยที่ร้ายแรง
กลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงผู้เรียน
เป็นการผิดวินัยร้ายแรง
ผู้ใดที่ฝ่าฝืน ข้อห้ามหรือผิดวินัยจะโดนโทษทางวินัย
ภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือน
ลดขั้นเงินเดือน
ปลดออก
ไล่ออก
หมวด ๗ การดำเนินการทางวินัย
หากมีกรณีมีมูลที่กล่าวหากระทำผิด ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อสอบสวนและดำเนินการ
หากมีการขัดแย้งผู้อำนวยการงานใน
สำนักงานเขตพื้นที่เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
ในกรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้งตามที่กำหนดในกฏ ก.ค.ศ.
จะดำเนินการทางวินัยโดยไม่สอบสวนก็ได้
ในกรณีกระทำผิดวินัยและมีเหตุอันควรงดโทษให้โดยทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนได้
หมวด ๘
การออกจากราชการ
ถึงแก่กรรม
พ้นจากราชการตามกฏหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
ลาออกจากราชการได้รับอนุญาตให้ลาออก
ถูกเบิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตให้ลาออกไปตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำหนด
หมวด ๙
การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
ข้าราชการผู้ใดถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
ข้าราชการผู้ใดถูกลงโทษปลดออก ไล่ออกหรือถูกสั่งออก ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. ภายในสามสิบวัน และให้ อ.ก.ค.ศ. พิจารณาแล้วเสร็จภายในเก้าสิบวัน
เมื่อศาลปกครองมีคำพิพากษาหรือออกคำสั่งเป็นประการใดแล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการแก้ไขคำสั่งไปตามนั้น