Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหลอดเลือดสมอง(Cerebrovascular accident/Stroke) (อาการแสดงทางคลินิก (1…
โรคหลอดเลือดสมอง(Cerebrovascular accident/Stroke)
ความหมาย
กลุ่มอาการที่เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ของสมอง (Neurological deficit) ที่เกิดขึ้นทันทีทันใด,มีอาการหรืออาการแสดงอยู่นานกว่า 24 ชั่วโมง และมีสาเหตุจากความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง
กรณีศึกษา B. 13 DX. Left Parietal Hemorrhage (Parietal lobe ทำหน้าที่ควมคุมความรู้สึกด้านการสัมผัส การพูด การรับรส)
กรณีศึกษา B. 15 DX. Left thermatic Hemorrhage (ทาลามัส (Thalamus) อยู่เหนือไฮโปทาลามัส ทำหน้าที่เป็นสถานีถ่ายทอดกระแสประสาทเพื่อส่งไปจุดต่างๆในสมอง รับรู้และตอบสนองความรู้สึกเจ็บปวด ทำให้มีการสั่งการแสดงออกพฤติกรรมด้านความเจ็บปวด)
กรณีศึกษา B. 16 DX.Right thermatic Hemorrhage
กรณีศึกษา B. 22 DX. ฺBasal ganglia Hemorrhage (Basal gangliaเป็นสมองส่วนที่ทำหน้าที่หลักเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว)
การแบ่งชนิดตามพยาธิสภาพ
ภาวะสมองขาดเลือด จากเส้นเลือดสมองตีบตัน,อุดตัน (Ischemic stroke, cerebral infarction)
ภาวะเลือดออกในกระโหลกศีรษะ จากเส้นเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke, cerebral hemorrhage) เกิดเลือดออกในเนื้อสมอง (Cerebral hemorrhage),เลือดออกใน Subarachnoid(subarachnoid hemorrhage,SAH),เลือดออกในโพรงสมอง(Intraventricular hemorrhage)
ปัจจัยเสี่ยง(Risk factor)
2.)โรคเบาหวาน
3.)โรคหัวใจ (Arrythmia)
4.)สูบบุหรี่
ฺ
B. 13 สูบบุหรี่ 10 มวน/วัน
ฺB. 15 สูบบุหรี่ 10 มวน/วัน
ฺ
B. 16 สูบยาเส้น 2-3 มวน/วัน
5.)โรคอ้วน
ปัจจัยเสี่ยงรองคือ อายุมาก,การดื่มแอลกอฮอลล์,ยาคุมกำเนิด,ประวัติครอบครัวมีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง,เคยป่วยโรคหลอดเลือดสมอง,โรคPolycytemia
ฺฺB. 13 ดื่มสุราทุกวัน วันละ 1ขวด
ฺB. 15 ดื่มสุราทุกวัน
B. 16 ดื่มสุราทุกวัน วันละ 1ขวด
1.)ความดันโลหิตสูง
ฺ
B. 15 เป็นโรคความดันโลหิตสูง10 ปี รับประทานยาไม่ต่อเนื่อง
อาการแสดงทางคลินิก
1.)อาการแสดงของความผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะที่ (Focal neurological deficit) เช่น อาการอ่อนแรงหรือชาครึ่งซีก เวียนศีรษะ เป็นต้น อาจเป็นชั่วคราวหรือเกิดความพิการขึ้นกับความรุนแรงของการขาดเลือด,ขนาดเส้นเลือด ดังกล่าวข้างต้นในการแบ่งชนิดโรคหลอดเลือดสมองตามอาการ
2.)ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง(Consciousness change) ซึมลง หมดสติ,โคม่า
3.)อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่ม ปวดศีรษะ ตามัว อาเจียนพุ่ง
4.)อาการชัก เมื่อเกิดพยาธิสภาพที่ผิวสมอง เช่น เลือดออก,สมองขาดเลือด
5.)อาการสมองเสื่อม(Vascular dementia,Bingswanger disease)
6.)การเคลื่อนไหวผิดปกติ เช่น Hemiballismus เกิดจาก Subthalamic hemorrhage or infarction
7.)อาการแสดงของเยื่อบุสมองอักเสบ(Meningismus)จากเลือดออกใต้Arachnoid(SAH) ไข้,ปวดศีรษะ,คอแข็ง
กรณีศึกษาเตียง 13 มีอาการปวดศีรษะ อาเจียน แขนขวาอ่อนแรง
กรณีศึกษาเตียง 15 มีอาการปวดศีรษะ ชัก เกร็ง ไม่พูด แขนขาอ่อนแรง
กรณีศึกษาเตียง 16 มีอาการแขนขาอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด
กรณีศึกษาเตียง 22 มีอาการเวียนศีรษะ เดินเซ พูดไม่ได้
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติอาการผิดปกติดังกล่าวข้างต้น ในหัวข้ออาการ
ประวัตโรคประจำตัวประวัติการใช้ยาต่างๆ
การตรวจร่างกาย
ประเมิน Neuro sign
การตรวจภาพถ่ายทางรังสี ของสมองและหลอดเลือดสมอง
การตรวจด้วยคลื่นเสียงอุลตราโซนิค
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง,Evoke potential
การตรวจหาปัจจัยเสี่ยง
วัดความดันโลหิต ตรวจเลือดเพื่อหาความผิดปกติของน้ำตาลในเลือด,ระดับไขมันในเลือด,การทำงานของไต,การแข็งตัวของเลือด ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ(EKG)
สรุปการป้องกันและรักษาโรคหลอดเลือดสมอง
1.)การป้องกัน
ป้องกันการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง ลดปัจจัยเสี่ยง(Modified Risk factor)ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
2.)การรักษาด้วยยา :
ยารักษาโรคเส้นเลือดอุดตัน(Ischemic stroke)
ยาละลายลิ่มเลือด(Thrombolytic agent)
2.ยาต้านการจับตัวเป็นลิ่มเลือด(Anticoagulant)
3.ยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด (Antiplatelet aggregration)
ยารักษาโรคเลือดออกผิดปกติในกะโหลกศีรษะ(Hemorrhagic stroke)
1.ยารักษาการจับตัวเป็นลิ่มเลือดผิดปกติ(Coagulopathy)
2.ยาต้านการละลายลิ่มเลือด (Antifibrinolytic drug)
3.ยาลดความดันโลหิต(Antihypertensive drug)
ยารักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
1.ยาขับปัสสาวะ(Diuretic drug)
2.ยาเพิ่มความเข้มข้นของเลือด(Osmotherapy)
3.ยาBarbiturate ขนาดสูงลดเมตาบอลิสมของสมองใช้ในรายที่สมองขาดเลือดมสมองบวมความดันในกะโหลกศีรษะสูงที่ไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นได้
3.)การรักษาด้วยการผ่าตัด
ภาวะสมองขาดเลือดจากเส้นเลือดสมองอุดตัน(Ischemic stroke)
1.Carotid endartherectomy ผ่าตัดรักษาโรคเส้นเลือดแดง Carotid ตีบหรืออุดตัน
2.Vascular bypass(Revascularization) การตัดต่อเส้นเลือดสมองเพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมอง
Decompressive craniectomy การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะลดความดันในกะโหลกศีรษะ
4.Craniotomy Thrombectomy การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาลิ่มเลือดอุดตันในเส้นเลือดดำออก
ภาวะเส้นเลือดแตกในสมอง(Hemorrhagic stroke)
1.Craniotomy remove blood clot การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาก้อนเลือดออก
B. 13 วันที่ 15/06/2561
2.Craniotomy aneurysm clipping การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะหนีบเส้นเลือดสมองโป่งพอง
Vascular bypass(Revascularization) การตัดต่อเส้นเลือดสมองเพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมองในกรณีที่มีการทำลาย(Sacrifice)เส้นเลือดในFusiform aneurysm หรือ Giant aneurysm
4.Craniotomy resection of AVM,AVF การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะตัดเส้นเลือดผิดปกติออก
5.CSF Diversion การผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำหล่อโพรงสมองเมื่อเกิดภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
ผ่าตัดระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(Ventriculostomy)
ระบายลงช่องท้อง(VP.shunt)
6.Decompressive craniectomy การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะลดความดันในกะโหลกศีรษะ
4.)การรักษาโดยผ่านภายในหลอดเลือด(Neurointervention : Endovascular technic)
1.Endovascular angioplasty& stent ใส่ท่อขยายหลอดเลือดเข้าไปในเส้นเลือดที่อุดตันที่คอและในกะโหลก
การใส่สารกึ่งแข็งกึ่งเหลว,กาวรักษาโรคเส้นเลือดผิดปกติ AVM,AVF,หรือของแข็ง
5.)การฉายรังสีรักษา(Gamma knife,Linac radiotherapy)
รักษาโรคเส้นเลือดสมองผิดปกติAVMที่ขนาดเล็กกว่า3 ซม.