Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หมวด ๔ …
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
:มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗”
มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ (๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๘
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและ แต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน งบ บุคลากรที่จ่ายในลักษณะเงินเดือนในกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม หรือกระทรวงอื่นที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๕ บรรดาคาว่า “ข้าราชการพลเรือน” ที่มีอยู่ในกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ และข้อบังคับอื่นใด ให้หมายความรวมถึงข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วย เว้นแต่ จะได้มีกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับอื่นใดที่บัญญัติไว้สาหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาโดยเฉพาะ
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ในกรณีที่มีปัญหาขัดแย้งหรือการที่จะต้องตีความในปัญหาเกี่ยวกับข้าราชการครู ตาม พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓ และข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงซึ่ง ตามพระราชบัญญัตินี้กาหนดให้เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ยกเว้นข้าราชการ ครูและข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และเป็นกรณีที่พระราชบัญญัตินี้มิได้กาหนดให้คณะกรรมการ
หมวด ๒
บททั่วไป
มาตรา ๒๙ การด าเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการ้านเมืองที่ดีโดยยึดถือระบบคุณธรรม ความเสมอภาคระหว่างบุคคล และหลักการได้รับการ
ปฏิบัติและการคุ้มครองสิทธิอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน
มาตรา ๓๐ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาส าหรับการ
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ซึ่งจะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาได้ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป
มาตรา ๓๑ อัตราเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจ าต าแหน่งของข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจ า
ต าแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการออมทรัพย์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา คณะรัฐมนตรีอาจวางระเบียบและวิธีการให้กระทรวงการคลังหักเงินเดือนของข้าราชการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นเงินสะสมก็ไดโดยคิดดอกเบี้ยเงินสะสมนั้นให้ในอัตราไม่ต่ า
กว่าดอกเบี้ยเงินฝากประจ าของธนาคารพาณิชย์
มาตรา ๓๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอาจได้รับเงินเพิ่มส าหรับต าแหน่งที่
มีเหตุพิเศษตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๓๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพ
ชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๓๕ วันเวลาท างาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจ าปี และ
การลาหยุดราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ.
ก าหนด ในกรณี ก.ค.ศ. ยังมิได้ก าหนดให้น าหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวที่ใช้กับข้าราชการ
พลเรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๖ เครื่องแบบของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและระเบียบการ
แต่งเครื่องแบบให้เป็นไปตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น
มาตรา ๓๗ บ าเหน็จบ านาญข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตาม
กฎหมายว่าด้วยการนั้น
หมวด ๑ คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา**
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” เรียกโดย ย่อว่า “ก.ค.ศ.”
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๙ กรรมการผู้แทนผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑๐ กรรมการผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้บริหารสถานศึกษาที่เรียกชื่อ อย่างอื่นในหน่วยงานการศึกษา ตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด
มาตรา ๑๑ กรรมการผู้แทนข้าราชการครูต้องมีคุณสมบัติ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนในวิทยฐานะไม่ต่ากว่าครูชานาญการ
เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์ความยุติธรรมและไม่เคยมีประวัติ เสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบอาชีพ
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้แทนบุคลากรทางการศึกษาอื่นต้องมีคุณสมบัติ
มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรี
มีประสบการณ์ด้านสนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งหรือเลือกตั้งใหม่ได้อีก แต่ จะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกินกว่าสองวาระมิได้
มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ต่ำแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย
มาตรา ๑๕ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้แทนข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาพ้นจากตาแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
(๓) พ้นจากการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๑๖ การประชุม ก.ค.ศ. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๗ ก.ค.ศ. มีอานาจตั้งคณะอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ” เพื่อทาการใด ๆ แทน ก.ค.ศ. หรือทาหน้าที่เช่นเดียวกับคณะอนุกรรมการอื่นที่ กาหนดตามพระราชบัญญัตินี้ได้
มาตรา ๑๘[๖] ภายใต้บังคับมาตรา ๑๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะเป็น กรรมการในก.ค.ศ. อนุกรรมการในอ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรืออนุกรรมการอื่นตาม พระราชบัญญัตินี้ในขณะเดียวกันมิได้ เว้นแต่การเป็นกรรมการหรืออนุกรรมการโดยตาแหน่ง
มาตรา ๑๙ ให้ ก.ค.ศ. มีอำนาจและหน้าที่
มาตรา ๒๐ ให้มีสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียก โดยย่อว่า “สานักงาน ก.ค.ศ.” โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา เรียกโดยย่อว่า “เลขาธิการ ก.ค.ศ.” ซึ่งมีฐานะเป็นอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการและบริหารราชการของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา
มาตรา ๒๑ ให้มีคณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจาเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา” และคณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจาเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา” สาหรับแต่ละเขตพื้นที่ การศึกษา
มาตรา๒๒[๙] การประชุมของอ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาให้นาความในมาตรา๑๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๓ ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามีอานาจและหน้าที่
มาตรา ๒๔ ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้บริหารราชการใน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา และมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๕ ในส่วนราชการอื่นนอกจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ ก.ค.ศ. ตั้ง อ.ก.ค.ศ. เพื่อทาหน้าที่บริหารงานบุคคลสาหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาในส่วนราชการนั้น ทั้งนี้ การตั้ง การพ้นจากตาแหน่งและขอบเขตการปฏิบัติ หน้าที่ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด
มาตรา ๒๖ ให้คณะกรรมการสถานศึกษา มีอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงาน บคุ คลสาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอานาจและหน้าที่
มาตรา๒๘ให้ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ก.ค.ศ. กาหนด เป็นผู้บังคับบัญชาและบริหารหน่วยงาน และให้นามาตรา ๒๗ มาใช้บังคับแก่ผู้ดารงตาแหน่ง ดังกล่าวโดยอนุโลม
หมวด ๓
การกาหนดตาแหน่ง
วิทยฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่ง
มาตรา ๓๘ ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามี 3 ประเภท
มาตรา ๓๙ ให้ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาดังต่อไปนี้ เป็นตาแหน่ง ที่มีวิทยฐานะ ได้แก่
ก. ตาแหน่งครู มีวิทยฐานะ
ข. ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มีวิทยฐานะ
ค. ตาแหน่งผู้บริหารการศึกษา มีวิทยฐานะ
ง. ตาแหน่งศึกษานิเทศก์ มีวิทยฐานะ
จ. ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กาหนดให้มีวิทยฐานะ
มาตรา ๔๐[๑๑] ให้ตาแหน่งคณาจารย์ดังต่อไปนี้ เป็นตาแหน่งทาวิชาการ
(ก) อาจารย์
(ข) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ค) รองศาสตราจารย์ (ง) ศาสตราจารย์
มาตรา ๔๑ ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จะมีในหน่วยงาน การศึกษาใดจานวนเท่าใด และต้องใช้คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งอย่างใด ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด
มาตรา๔๒ให้ก.ค.ศ. จัดทามาตรฐานตาแหน่งมาตรฐานวิทยฐานะและมาตรฐาน ตาแหน่งทางวิชาการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไว้เป็นบรรทัดฐานทุกตาแหน่ง ทุกวิทยฐานะเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ โดยคานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพ คุณวุฒิการศึกษา การ อบรม ประสบการณ์ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน คุณภาพการปฏิบัติงาน หรือผลงานที่เกิดขึ้นจาก การปฏิบัติหน้าที่
มาตรา ๔๓ ให้ ก.ค.ศ. หรือผู้ที่ ก.ค.ศ. มอบหมายตรวจสอบการกาหนดตาแหน่งและ การใช้ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสม ในกรณีที่ลักษณะหน้าที่ และความรับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพงานของตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาตาแหน่งใดที่ก.ค.ศ. กาหนดเปลี่ยนแปลงไปให้ก.ค.ศ. หรือผู้ที่ก.ค.ศ. มอบหมาย พิจารณาปรับปรุงการกาหนดตาแหน่งนั้นใหม่ให้เหมาะสมตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. ก าหนด
มาตรา ๔๔ ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่ง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หมวด ๕ การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
มาตรา ๗๒ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา โดยยึดหลักการปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับการเป็นข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาและปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรา ๗๓ การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณา โดยการพิจารณาให้ยึดหลักคุณธรรม
มาตรา ๗๔ ให้ ก.ค.ศ. กาหนดขั้นเงินเดือนประสิทธิภาพของตาแหน่งข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในตาแหน่งที่มีวิทยฐานะ เพื่อให้ปฏิบัติงานบังเกิดผลดีและมี ความก้าวหน้าและได้มาตรฐานงานของทางราชการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. ก าหนด
มาตรา ๗๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี ผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์ ให้กระทรวงเจ้าสังกัด ส่วนราชการและหน่วยงานการศึกษา ดาเนินการยกย่องเชิดชูเกียรติตามควรแก่กรณี
มาตรา ๗๖ ให้ส่วนราชการและหน่วยงานการศึกษามีหน้าที่จัดสวัสดิการให้แก่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามความเหมาะสมกับฐานะทางสังคมและวิชาชีพเพื่อ เสริมสร้างแรงจูงใจให้ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรา ๗๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถึงแก่ความตายอันเนื่องมาจาก การปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้จัดสวัสดิการแก่ครอบครัวตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๗๘ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตาม มาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๕๐ ก่อนการมอบหมายหน้าที่ให้ปฏิบัติ ให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งภาระงาน มาตรฐานคุณภาพงาน มาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ
มาตรา ๗๙ ให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาและมี หน้าที่พัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม
มาตรา ๘๐ ให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารง ตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม
มาตรา ๘๑ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา โดย การให้ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนาตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กาหนด
หมวด ๖ วินัยและการรักษาวินัย
มาตรา ๘๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อห้าม และข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ
มาตรา ๘๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา ๘๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางราชการ
มาตรา ๘๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ทาง ราชการ
มาตรา ๘๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามคาสั่งของ ผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ
มาตรา ๘๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตน ให้แก่ทางราชการและผู้เรียน จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้
มาตรา ๘๘ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ ผู้เรียน ชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้เรียนและ ระหว่างข้าราชการด้วยกันหรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม แก่ผู้เรียนและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
มาตรา ๘๙ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือ ร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง
มาตรา ๙๐ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการหรือยอมให้ผู้อื่น กระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ใน ตาแหน่งหน้าที่ราชการของตน
มาตรา ๙๑ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่คัดลอกหรือลอกเลียน ผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบ หรือนาเอาผลงานทางวิชาการของผู้อื่น หรือจ้าง วาน ใช้ ผู้อื่นทาผลงานทางวิชาการเพื่อไปใช้ในการเสนอขอปรับปรุงการกาหนดตาแหน่ง
มาตรา ๙๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือ ผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
มาตรา ๙๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง ในการปฏิบัติหน้าที่ และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน โดยต้องไม่อาศัยอานาจ และหน้าที่ราชการของตนแสดงการฝักใฝุ ส่งเสริม เกื้อกูล สนับสนุนบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ พรรคการเมืองใด
มาตรา ๙๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาชื่อเสียงของตนและ รักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย โดยไม่กระทาการใดๆ อันได้ ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว
มาตรา ๙๕ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ปูองกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย และดาเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาซึ่ง มีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
มาตรา ๘๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามคาสั่งของ ผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ
โทษทางวินัยมี ๕ สถาน คือ
(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตัดเงินเดือน
(๓) ลดขั้นเงินเดือน
(๔) ปลดออก
(๕) ไล่ออก
ผู้ใดถูกลงโทษปลดออก ให้ผู้นั้นมีสิทธิได้รับบาเหน็จบานาญเสมือนว่าเป็นผู้ลาออกจาก ราชการ
หมวด ๗ การดาเนินการทางวินัย
การรายงานการดาเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรงของผู้บังคับบัญชาตั้งแต่หัวหน้า ส่วนราชการหรือผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลงมา เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ ดาเนินการทางวินัยแล้ว ให้รายงานไปยังหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อานวยการสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาแล้วแต่กรณี และเมื่อหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาได้รับรายงานแล้วเห็นว่าการยุติเรื่อง การงดโทษ หรือการสั่งลงโทษไม่ถูกต้องหรือไม่ เหมาะสม ก็ให้มีอานาจสั่งงดโทษลดสถานโทษ เพิ่มสถานโทษ เปลี่ยนแปลงและแก้ไขข้อความ ในคาสั่งเดิม หรือดาเนินการอย่างใดเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณาให้ได้ความจริงและความ ยุติธรรมได้ตามควรแก่กรณี และหากเห็นว่ากรณีเป็นการกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ก็ให้มี อานาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้หรือหากเห็นว่าเป็นกรณีที่ไม่อยู่ในอานาจหน้าที่ของ ตน ก็ให้แจ้งหรือรายงานไปยังผู้บังคับบัญชาที่มีอานาจหน้าที่เพื่อดาเนินการตามควรแก่กรณี ต่อไป เมื่อหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้พิจารณาตาม อานาจหน้าที่แล้วให้เสนอหรือรายงาน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา เมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่การศึกษาได้พิจารณาแล้ว ให้รายงานไปยังหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา แต่ในกรณีที่ หัวหน้าส่วนราชการซึ่งได้รับรายงานมีความเห็นขัดแย้งกับมติ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ให้ เสนอ ก.ค.ศ. พิจารณาต่อไป
หมวด ๔
การบรรจุและการแต่งตั้ง
มาตรา ๔๕ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูบุคลากรทางการศึกษา เพื่อแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งใด ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ส าหรับต าแหน่งนั้น โดย
บรรจุและแต่งตั้งตามล าดับที่ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้
มาตรา ๔๖ ผู้สมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาต าแหน่งใดต้องมีคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา ๓๐ และต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ
ส าหรับต าแหน่งตามมาตรฐานต าแหน่งนั้นตามมาตรา ๔๒
มาตรา ๔๗ ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้ด าเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและ
แต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๔๘ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาอาจรับสมัคร
สอบแข่งขันเฉพาะบุคคลที่มีคุณสมบัติพิเศษในสาขาวิชาใดได้ทั้งนี้ ผู้สมัครสอบแข่งขันต้องมี
คุณสมบัติพิเศษในสาขาวิชานั้นๆ ตามที่ ก.ค.ศ. ก าหนด
มาตรา ๔๙ ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาตามมาตรา๔๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๕๐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๘ มาตรา ๖๔
มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ หากภายหลังปรากฏว่าผู้นั้นขาดคุณสมบัติทั่วไป
มาตรา ๕๐ ในกรณีที่มีความจ าเป็นหรือมีเหตุพิเศษที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาไม่
สามารถด าเนินการสอบแข่งขันได้หรือการสอบแข่งขันอาจท าให้ไม่ได้บุคคลต้องตามประสงค์
ของทางราชการ อ.ก.ค.ศ.
มาตรา ๕๑ หน่วยงานการศึกษาใดมีเหตุผลและความจ าเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์แก่
ราชการ ที่จะต้องบรรจุและแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความรู้ ความสามารถ มีความช านาญหรือ
เชี่ยวชาญระดับสูงเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใ
มาตรา ๕๒ นอกจากการบรรจุและแต่งตั้งเพื่อให้บุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาแล้ว ก.ค.ศ.
มาตรา ๕๓ ภายใต้บังคับมาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๕๐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๘
มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้มีอ านาจดังต่อไปนี้เป็นผู้มีอ านาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง
มาตรา ๕๔ การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะใด และการ
เลื่อนเป็นวิทยฐานะใดต้องเป็นไปตามมาตรฐานวิทยฐานะตามมาตรา ๔๒ ซึ่งผ่านการประเมิน
มาตรา ๕๕ ให้มีการประเมินต าแหน่งและวิทยฐานะส าหรับต าแหน่งที่มีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพเป็นระยะๆ เพื่อด ารงไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถ ความช านาญการ
มาตรา ๕๖ผู้ใดได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้เข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๕๐ ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการในตาแหน่งนั้น แต่ถ้าผู้ใดได้รับการบรรจุและแต่งตั้งในตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ให้ผู้นั้นเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มเป็นเวลาสองปีก่อนแต่งตั้งให้ตำแหน่งครู
มาตรา ๕๗ การเปลี่ยนตาแหน่ง การย้ายและการโอนของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตาม กฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้นั้นอาจถูกเปลี่ยนตาแหน่งหรือย้ายตาม วรรคหนึ่งได้ เว้นแต่ ถูกสั่งพักราชการ หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน หรือถูกสั่งให้ออก จากราชการไว้ก่อนในกรณีอื่นตามมาตรา ๑๑๙
มาตรา ๕๘ การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคล ส่วนท้องถิ่นที่มิใช่พนักงานวิสามัญ และการโอนข้าราชการอื่นที่มิใช่ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ และมิใช่ข้าราชการการเมือง มาบรรจุและแต่งตั้งเป็น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อาจทาได้หากบุคคลนั้นสมัครใจ โดยให้ผู้มีอานาจตาม มาตรา ๕๓ ของหน่วยงานการศึกษาที่ประสงค์จะรับโอนทาความตกลงกับผู้มีอานาจสั่งบรรจุ ของส่วนราชการหรือหน่วยงานสังกัดเดิมแล้วเสนอเรื่องให้ก.ค.ศ. หรืออ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา แล้วแต่กรณี อนุมัติโดยให้คานึงถึงประโยชน์ที่หน่วยงานการศึกษานั้นจะได้รับเป็น สาคัญ ทั้งนี้ จะบรรจุและแต่งตั้งให้มีตาแหน่งใด วิทยฐานะใดและให้ได้รับเงินเดือนเท่าใด ให้ เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด แต่เงินเดือนที่จะให้ได้รับต้องไม่สูงกว่าข้าราชการครูและบุคลากร
มาตรา ๕๙ การย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดไปดารงตาแหน่งใน หน่วยงานการศึกษาอื่นภายในส่วนราชการหรือภายในเขตพื้นที่การศึกษาหรือต่างเขตพื้นที่ การศึกษาต้องได้รับอนุมัติจาก อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง ของผู้ ประสงคย์้ายและผู้รับย้ายแล้วแต่กรณีและให้สถานศึกษาโดยคณะกรรมการสถานศึกษาเสนอ ความเห็นประกอบการพิจารณาของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง ด้วย และเมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง พิจารณาอนุมัติแล้ว ให้ ผู้มอี านาจตามมาตรา ๕๓ สั่งบรรจุและแต่งตั้งผู้นั้นต่อไป
มาตรา ๖๐ ภายใต้บังคับตามมาตรา ๕๗ และมาตรา ๕๙ ให้ ก.ค.ศ. ดาเนินการให้มีการ สับเปลี่ยนหน้าที่หรือย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือตาแหน่งที่มีลักษณะบริหารตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยยึดหลักการให้อยู่ปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่งดังกล่าวได้ไม่เกินสี่ปี เว้น แต่มีเหตุผลและความจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการจะให้ปฏิบัติหน้าที่ติดต่ อในคราว เดียวกันได้คราวละหนึ่งปีแต่ต้องไม่เกินหกปี ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด
มาตรา ๖๑ การเลื่อนตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาซึ่งเป็นตาแหน่งที่มิได้กาหนดให้มี วิทยฐานะเพื่อให้ได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น ให้กระทาได้โดยการสอบแข่งขัน สอบคัดเลือก คัดเลือก หรือประเมินด้วยวิธีการอื่น
มาตรา ๖๒ การแต่งตั้งบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา ๖๑ สาหรับผู้สอบแข่งขันได้ ให้แต่งตั้งตามลาดับที่ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้
มาตรา ๖๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดได้รับการแต่งตั้ง ให้เลื่อน ตาแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ
มาตรา ๖๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดออกจากราชการไปแล้ว และ มิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
มาตรา ๖๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ให้ออกจากราชการไปปฏิบัติงานใดและให้นับเวลาระหว่างนั้นสาหรับคานวณบาเหน็จบานาญ เหมือนเป็นเวลาราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ
มาตรา ๖๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อ ไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร เมื่อผู้นั้นพ้นจากราชการทหารโดย มิได้กระทาการใดๆ
มาตรา ๖๗ พนักงานส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วน ท้องถิ่นที่ไม่ใช่พนักงานวิสามัญ
มาตรา ๖๘ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ถ้าตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาแหน่งใดว่างลง หรือผู้ดารงตาแหน่งไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา ๕๓ สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาไปรักษาการในตาแหน่งนั้นได้
มาตรา ๖๙ ในกรณีที่มีความจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ก.ค.ศ. อาจเสนอแนะ ต่อหัวหน้าส่วนราชการ ให้สั่งให้ข้าราชการผู้ใดไปปฏิบัติราชการในหน่วยงานการศึกษาใดเป็น การชั่วคราวได้
มาตรา ๗๐ ในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็นหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา ๗๑ ในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็น หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หมวด ๘ การออกจากราชการ
ในกรณีที่ผู้มีอานาจตามมาตรา ๕๓ พิจารณาเห็นว่าจาเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการ จะ ยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกไว้เป็นเวลาไม่เกินเก้าสิบวันนับตั้งแต่วันขอลาออกก็ได้ แต่ต้องแจ้ง การยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกพร้อมทั้งเหตุผลให้ผู้ขอลาออกทราบ และเมื่อครบกาหนดเวลาที่ ยับยั้งแล้วให้การลาออกมีผลตั้งแต่วันถัดจากวันครบกาหนดเวลาที่ยับยั้ง
ถ้าผู้มีอานาจตามมาตรา ๕๓ ไม่ได้อนุญาตให้ลาออกตามวรรคหนึ่งและไม่ได้ยับยั้งการ อนุญาตให้ลาออกตามวรรคสอง ให้การลาออกนั้นมีผลตั้งแต่วันขอลาออก
ในกรณีที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ เพื่อดารงตาแหน่งทางการเมืองหรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่นหรือการเลือกตั้งอื่นที่มีลักษณะเป็นการส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย ให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชา และให้การลาออกมีผลนับตั้งแต่วันที่ผู้ นั้นขอลาออก
หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตให้ลาออก และการ ยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสี่ให้เป็นไปตาม ระเบียบที่ ก.ค.ศ. กาหนด
หมวด ๙ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
ในกรณีที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดเห็นว่า อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง มีมติไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม ให้ผู้นั้นมีสิทธิร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ.[๒๐]
มติของ ก.ค.ศ. ตามวรรคสอง ให้เป็นที่สุด[๒๑]
เมื่อศาลปกครองมีคาพิพากษาหรือคาสั่งเป็นประการใดแล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการ แก ้ไข ค าสั่งไปต ามนั้น
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ให้ ก.ค.ศ. กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาและดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งกรรมการใน ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาจนครบจานวนตามองค์ประกอบ ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ได้มีการปรับปรุงเขต พื้นที่การศึกษาเป็นเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เพื่อ รับผิดชอบการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทาให้ต้อง ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับการบริหารงาน บุคคลในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จึงจาเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้
: