Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 (หมวดที่2…
พระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2546
หมวด1
การจัดระเบียบบริหารในส่วนกลาง
ส่วนที่1
บททั่วไป
มาตรา9
จัดระเบียบบริหารในส่วนกลาง
สำหนักงานปลัดกระทรวง
ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรุฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกการ
มาตรา10
การแบ่งส่วนราชการในสส่วนกลาง
ของกระทรวงศึกษาธิการ
ให้เป็นไปตามมบัญญัติ
สำนักงานรัฐมนตรี
สำนักงานปลัดกระทรวง
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มาตรา11 การแบ่งส่วนราชการภายในราชการตามมาตรา10 ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและให้ระบุอำนวจของแต่ละส่วนราชการไว้ในกฎกระทรวง ว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการ
มาตรา12 กระทรวงศึกษาธิการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและกำหนดนะโยบาย เป้าหมายและผลสำริดของงานในกระทรวงศึกษาธิการ ให้สอดคล้องกับนะโยบาย
มาตรา21 ให้กระทรวงศึกษาธิการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์การปกครองท้องถิ่น
มาตรา13 ในกรณีที่สภาศึกษา คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาและคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา เสนอความเห็นหรือคำแนะนำต่อรัฐมนตรีว่าด้วยกระทรวงศึกษาธิการแล้ว
มาตรา14 ให้มีสภาการศึกษา
พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บรูณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษาทุกระดับ
พิจารณาเสนอนะโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
พิจารณาเสนอนะโยบายและแผนสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา
ให้ความเห็นหรือคำแนะนำในเรื่องกฎหมายและกฏกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา
มาตรา15 ให้มีคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนะโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ
มาตรา16 ให้มีคณะกรรรมการศึกษาอุดมศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนะโยบายแผนพัฒนาและมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ให้มีคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่ให้ความเห็นหรือคำแนะนำให้แก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี
ให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาประกอบด้วย กรรมกาารโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มาตรา22 ในกรณีที่เขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรา33 ไม่อาจบริหารและจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานบางประเภทได้ และอาจจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญา เพื่อเสริมการบริหารและการจัดการ ของเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา17 ให้มีคณะกรรมการอาชีวะศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนะโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลัก6การอาชีวะทุกระดับที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อประโยช์ในการพิจารณานะโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการอาชีวะศึกษาระดับปริญญา
ให้คณะกรรมการอาชีวะศึกษามีหน้าที่และะความเห็นหรือให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีว่าด้วยการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี
มาตรา18 สภาการศึกษาคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอุดมการศึกษาและคณะกรรมการอาชีวะศึกษา อาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพิจารณาเสนอความเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
มาตรา19สำนักงานงานรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมมืองเป็นผูบังคับบัญชาข้าราชการข้าราชการและรับผิดชอบในการปฎิบัติราชการ
มาตรา20 ให้กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวง
ส่วนที่2 การจัดระเบียบในสำนักงานปลัดกระทรวง
มาตรา23 กระทรวงศึกษาธิการมีปลัดกระทรวงคนหนึ่ง มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง
เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานปลัดกระทรวงรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา24 สำนักงานปลัดกระทรวงมีหน้าที่ดังนี้
ดำเนินงานเกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของกระทรวง
ประสานงานต่างๆในกระทรวง และดำเนินงานต่างๆ
จัดทำงบประมาณและแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง
ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยกระทรวงศึกษาธิการแห่งชาติมิได้อยู่ในอำนาจของราชการอื่น
ดำเนินการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งสวนราชการ
มาตรา25 สำนักงานปลัดกระทรวงอาจแบ่งส่วนราชการดังนี้
สำนักงานอำนวยการ
สำนักงานบริหารงาน
มาตรา26 สำนักอำนวยการมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไป สำนักบริหารงานเป็นส่วนราชการของสำนักงานปลัดกระทรวง สำนักงานบริหารงานมีผู้อำนวยการสำนักบริหารงานคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา
มาตรา27 ให้มีคณะกรรมการสงเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
หมวดที่3 การจัดระเบียบราชการในสำหนักงาน
มาตรา28 ให้สำนักงานที่มีหัวหน้าราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตามมาตรา10 (3)(4)(5) และ(6) มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
มาตรา29 ให้ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตามมาตรา10 (3)(4)(5) และ(6) มีเลขาธิการซึ่งมีหน้าที่เทียบเท่าปลัดกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชา
มาตรา30 เลขาธิการซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการตามมตรา28 มีอำนาจดังนี้
มาตรา30 เลขาธิการซึ่งเป็นผู้บังของส่วนราชการตามมาตรา28 มีอำนาจดังนี้
รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักงาน
เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานรองจากรัฐมนตรี
มาตรา31 สำนักงานอำนวยการอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับข้าราชการทั่วไปของสำนักงาน
มาตรา32 ให้มีคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาพิเศษ
หมวดที่2 การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา33 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา34 ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
มาตรา35 สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา34 (2) เฉพาะที่เป็นโรงเรียนมีฐานะเป็นนิติบุคคล
มาตรา36 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจหน้าที่ในการกำหับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา37 ทำหน้าที่ในการดำเนินการให้เป็นไปตามอำนวจหน้าที่ของคณะกรรมการตามที่กำหนดไว้ในมาตรา36 และให้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษาตามที่กำหนด
อำนาจหน้าที่การบริหารและการจัดการศึกษา
อำนาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพในสถานศึกษา
รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา
ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา38 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาและสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษา
บริหารกิจกิจการของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย
ประสานกาารระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งควบคุมและดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษา
เป็นผู้แทนของสถานศึกษาหรือส่วนราชการในกิจกรรมทั่วไป
จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับกิจกรรมของสถานศึกษา
หน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการสถานศึกษากำหนด
ปฏิบัติงานอืื่นตามที่ได้รรับมอบหมายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา39 สถานศึกษาและส่วนราชการตามมาตรา34 (2) มีอำนนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นๆ
หมวด4 การปฏิบัติราชการ
มาตรา44 อำนาจหน้าที่ของปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา ให้คำนึงถึงความเป็นอิสระ
อำนาจหน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับงบประมาณและการดำเนินการทางงบประมาณของผู้อำนวยการศึกษา
หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนาและดำเนินการทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา45 อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือดำเนินการอื่น
มาตรา46 เมื่อมีการมอบอำนาจตามมตรา 45 โดยชอบแล้ว ผู้รับมอบอำนาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอำนาจนั้นและมอบอำนาจนั้นให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นไม่ได้
มาตรา47 ในการมอบอำนาจตามมตรา45 (1) ถึง (6) ให้ผู้มอบอำนาจพิจารณาถึง การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
หมวด5 การรักษาราชการ
มาตรา48 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการ ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษา
มาตรา49 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการแทน
มาตรา50 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองปลัดเป็นผู้รักษาการแทน
มาตรา54 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทนได้
มาตรา51 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาการแทน
มาตรา55 ให้ผู้รักษาราชการแทนตามความในพระราชบัญญัตินี้มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน
มาตรา52 ในกรณีที่ไมีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงาน หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสำนักงานเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา46 การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามพระราชบัญญัตินี้ไม่กระทบ กระเทือนอำนาจของนายกรัฐมนตรี
มาตรา53 ในกรณีที่ไม่มีดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษารักษาการแทน
หมวดที่3 การจัดระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
มาตรา40 ระเบียบปฏิบัติราชการหรือระเบียบปฏิบัติงานของสถานศึกษาของรัฐ
มาตรา41 เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามมาตรา40 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
เสนอแนะการจัดสรรเงินงบประมาณ
ประสานงานจัดการศึกษาระหว่างสถานศึกษาของรัฐ
เสนอการจัดตั้ง ยุบ รวม และเลิกสถานศึกษาของรัฐ
วางระเบียบการปฏิบัติราชการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจการต่างๆ
มาตรา42 ให้มีคณะกรรมการเข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยเรียกโดยย่อว่า ก.ม
มาตรา43 กระทรวงศึกษาธิการขอให้กระทรวง ทบวง กรมอื่น และองกรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญา ในสังกัดเสนอโครงการและแผนงานเกี่ยวกับการศึกษาของสถานศึกษานั้น