Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดปกติ ( Normal labor ) :tada: (กลไกการคลอดปกติ :recycle:…
การคลอดปกติ
( Normal labor )
:tada:
ความหมาย
:warning:
ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้น
เพื่อขับทารก รก เยื่อหุ้มทารกและน้ำคร่ำออกจากโพรงมดลูกมาสู่ภายนอก
ชนิดของการคลอด
:!?:
การคลอดปกติ :red_flag:
( Normal labor or Eutocia )
อายุครรภ์ครบกำหนด คือ อายุตั้งแต่ 38 สัปดาห์ขึ้นไปจนถึง 42 สัปดาห์
ทารกที่ยอดศีรษะเป็นส่วนนำ
( vertex presentation)
คลอดปกติทางช่องคลอด
(Vaginal birth)
ไม่ต้องใช้เครื่องมือ
เริ่มเจ็บครรภ์จริง-รกคลอด ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆในระยะคลอด
การตกเลือด
รกค้าง
มดลูกปลิ้น
การคลอดผิดปกติ :red_flag:
(abnormal labor or dystocia)
การคลอดที่สิ้นลงโดยต้องได้รับการช่วยเหลือ
มีภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการคลอด
ระยะของการคลอด
:fire:
(stage of labor)
ระยะที่หนึ่งของการคลอด
(first stage) :lock:
1.1 ระยะปากมดลูกเปิดช้า
(latent phase) :silhouette:
เจ็บครรภ์จริงจนกระทั่งปากมดลูกเปิด 3 เซนติเมตร
ครรภ์แรก : 0.3 cm/hr
ครรภ์หลัง: 0.5 cm/hr
เทคนิคการหายใจ
หายใจแบบช้าๆ ด้วยอก
(slow chest breathing)
มดลูกเริ่มหดรัดตัว ให้หายใจล้างปอด 1 ครั้ง
ต่อด้วยการสูดหายใจเข้าออกทางจมูกช้าๆพร้อมนับ 1-2-3-4ในใจ จนกระทั่งมดลูกคลายตัว
แล้วหายใจล้างปอด 1 ครั้ง
1.2 ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
(active phase) :silhouette:
เปิด 3 - 7 cm
ครรภ์แรก: 2 cm/hr
ครรภ์หลัง: 1.5 cm/hr
เทคนิคการหายใจ
หายใจแบบช้าๆ สลับกับการหายใจแบบตื้น เบา เร็ว
(shallow accelerated-decelerated breathing)
ผู้คลอด
:no_entry:
เวลา 18.45 น. PV แรกรับ Cx.dilate 7 cm Eff 100% station 0 MI I=2’35” D=40” S=+,++ FHS 142/min
1.3 ระยะเปลี่ยนผ่าน
(Transitional phase) :silhouette:
เปิด 8 -10 cm
เทคนิคการหายใจ
หายใจแบบ ตื้น เบา เร็ว และเป่าออก (pant-blow breathing)
ผู้คลอด
:no_entry:
เวลา19.15 น. Fully dilate
ความเจ็บปวดในระยะคลอด
มดลูกมีการหดรัดตัวบริเวณส่วนบนและมดลูกส่วนล่างมีการยืดขยายออก ซึ่งจะช่วยดึงรั้งให้ปากมดลกมีการบางตัวและเปิดขยายมากขึ้นเรื่อยๆ
เอ็นต่างๆที่ยึดมดลูกไว้ถูกดึงรั้งตามไปด้วย
แรงกดดันจากการเคลื่อนต่ำของศีรษะทารก กดลงบนช่องคลอด กระเพาะปัสสาวะและอวัยวะใกล้เคียงบริเวณอุ้งเชิงกราน
ผู้คลอด
:no_entry:ใช้เวลา 4 ชั่วโมง 15 นาที
ระยะที่สองของการคลอด
(second stage) :lock:
ปากมดลูกเปิดหมดจนกระทั่งทารกคลอดทั้งตัว
ครรภ์แรกใช้เวลา1-2 ชั่วโมง
ครรภ์หลังใช้เวลา 1/2 – 1 ชั่วโมง
ความเจ็บปวดในระยะคลอด
ช่องคลอดมีการยืดขยายออกมาก เพราะศีรษะทารกกำลังผ่านช่องคลอดออกมาดันบริเวณฝีเย็บแรงกดดันจากการเคลื่อนต่ำของศีรษะทารก กดลงอวัยวะใกล้เคียงบริเวณอุ้งเชิงกราน
มดลูกมีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงขึ้น เซลล์ของกล้ามเนื้อมดลูกขาดออกซิเจนมากขึ้น ทำให้เจ็บปวดมากขึ้น
ผู้คลอด
:no_entry: ใช้เวลา19 นาที
ระยะที่สามของการ
(third stage) :lock:
ทารกคลอดทั้งตัว จนถึงรกและเยื่อหุ้มทารกคลอดออกมาครบ
ไม่เกิน 30 นาที
ชนิดของการลอกตัวของรก
Schultze method :no_entry:
Matthews Duncan method
ความเจ็บปวดในระยะคลอด
การยืดขยายของปากมดลูกจากการคลอดของรก
แผลบริเวณฝีเย็บจากการขาดหรือตัดฝีเย็บหรือการขาดของช่องทางคลอด
การทำคลอดรก
การเบ่งคลอดเองตามธรรมชาติ
การช่วยทำคลอดรก
Modified Crede’s maneuver :no_entry:
Brandt-Andrew maneuver
Control cord traction
การประเมินการลอกตัวของรก
Uterine sign :no_entry:
Cord sign :no_entry:
Vulva sign
การตรวจรกและสายสะดือ
ตรวจสายสะดือ
ตรวจรกด้านเด็ก
ตรวจเยื่อหุ้มเด็ก
ตรวจรกด้านแม่
การตรวจการฉีกขาดของช่องทางคลอด
การฉีกขาดระดับที่ 1 (first degree tear)
การฉีกขาดระดับที่ 2 (second degree tear) :no_entry:
การฉีกขาดระดับที่ 3 (third degree tear)
การฉีกขาดระดับที่ 4 (fourth degree tear)
ผู้คลอด
:no_entry: ใช้เวลา 4 นาที
ระยะที่สี่ของการคลอด
(fourth stage) :lock:
2 ชั่วโมงแรกหลังจากรกคลอด
ความเจ็บปวดในระยะคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
แผลฝีเย็บและแผลในช่องทางคลอด
สิ่งที่ควร Observe
การตกเลือดหลังคลอด
แผลฝีเย็บ
การหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอด
ใช้ระยะเวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงจนกระทั่งรกคลอด 4 ชั่วโมง 38 นาที :no_entry:
องค์ประกอบของการคลอด
:star:
แรงผลักดัน (Power)
1.1 แรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
1.2 แรงเบ่ง
ช่องทางคลอด (passages)
ช่องทางคลอดส่วนกระดูก
ช่องเข้าเชิงกราน (Pelvic inlet)
ลักษณะเป็นรูปรีตามขวาง
ช่องเชิงกราน (Pelvic cavity or mid pelvis)
ลักษณะเป็นท่อโค้ง ค่อนข้างกลม
ช่องออกเชิงกราน (Pelvic outlet)
ลักษณะเป็นรูปรีตามยาว
Gynecoid
Android
Anthropoid
Platypelloid
ช่องทางคลอดอ่อน
สิ่งที่คลอดออกมา (passengers)
สภาวะจิตใจ (psychological condition)
สภาวะร่างกาย (physical condition)
ท่าของผู้คลอด (position of labor)
กลไกการคลอดปกติ
:recycle:
Engagement
Flexion
Descent
Internal rotation
Extension
Restitution
External rotation
Expulsion