Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever) (อาการสำคัญที่เป็นรูปแบบค่อนข้างเฉพ…
ไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
อาการและอาการแสดง
หลังจากได้รับเชื้อจากยุงประมาณ 5-8 วัน (ระยะฟักตัว) ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการของโรค ซึ่งมีความรุนแรงแตกต่างกันได้ ตั้งแต่มีอาการคล้ายไข้เดงกี (dengue fever: DF) ไปจนถึงมีอาการรุนแรง (dengue hemorrhagic fever: DHF) และรุนแรงมาก จนถึงช็อกและเสียชีวิต (dengue shock syndrome: DSS)
ผู้ป่วยมีอาการได้ 3 แบบ คือ
ไข้เดงกี (Dengue fever - DF)
ไข้เลือดออกเดงกี (Dengue hemorrhagic fever - DHF)
Undifferentiated fever (UF) หรือกลุ่มอาการไวรัส
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue virus) ซึ่งเป็น single - strand RNA จัดอยู่ใน genus Flavivirus และ family Flaviviridae มี 4 serotypes คือ
1.DEN-1
2.DEN-2
3.DEN-3
4.DEN-4
ระยะ
ระยะไข้
ผู้ป่วยจะมีไข้สูงเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ส่วนใหญ่ไข้จะสูงเกิน 38.5 c
มีอาการชักเกิดขึ้นได้ในเด็กที่เคยมีประวัติชักมาก่อน
ผู้ป่วยมักจะมีหน้าแดง (flushed face)
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะไม่มีอาการน้ำมูกไหลหรืออาการไอ
เบื่ออาหาร อาเจียน และไข้จะสูงลอยอยู่ 2-7 วัน
อาจพบมีผื่นแบบ erythema หรือ maculopapular ซึ่งมีลักษณะคล้ายผื่น rubella ได้
ทำ tourniquet test ให้ผลบวก มีจุดเลือดออกมากกว่า 10 จุด
อาการสำคัญที่เป็นรูปแบบค่อนข้างเฉพาะ 4 ประการ เรียงตามลำดับการเกิดก่อนหลัง
มีตับโต กดเจ็บ
มีอาการเลือดออก ส่วนใหญ่จะพบที่ผิวหนัง
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
มีภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว/ภาวะช็อก
ผู้รับบริการถูกยุงลายที่มีเชื้อไวรัส Dengue กัด เชื้อฟักตัว 3-15 วัน
เชื้อแบ่งตัวเพิ่มจำนวน
กระตุ้น Antibody มาจับกินเชื้อ และปล่อยสาร Maidiators มากระตุ้นระบบ Complement ของร่างกาย
สารประกอบเกาะที่ผิวเกล็ดเลือด ทำให้เกล็ดเลือดเกาะกลุ่ม และถูกทำลาย
ปริมาณเกล็ดเลือดลดลง
พบค่า Dengue Ab(IgG) = Negative
LAB พบค่า Platelet =88,000/cu.mm
พบค่า Dengue Ab(IgM) = Positive
Tourniquet test ผล Negative (พบ 4 จุด)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกง่าย
แนะนำให้ป้องกันเรื่องอุบัติเหตุ และสังเกตภาวะเลือดออกทั้งภายในและภายนอกร่างกาย
กระตุ้น Macrophage หลั่ง Endrogenous pyrogen
เกิดจากร่างกายมีการหลั่งสารเช่น Cutokines,Prostaglanding
เพิ่ม Permeability ของหลอดเลือด
Plasma ออกนอกหลอดเลือด
เสี่ยงต่อภาวะ Hypovolemic shock
กระตุ้นให้จิบ ORS บ่อยๆ
เกิดปฏิกิริยาตอบสนองกระตุ้นการทำงานของ
Hypothalamus
หลอดเลือดต่างๆหดตัว
กล้ามเนื้อเกร็งตัว