Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
cerebellar hemorrhage with intraventricular hemorrhage (ข้อวินิจฉัยทางการ…
cerebellar hemorrhage with
intraventricular hemorrhage
สาเหตุที่ทำให้มีเลือดออกในเนื้อสมอง
ความดันเลือดสูง โรคประจำตัว Hypertention
Aneurysms
โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง
ยาเสพติด amphetamine ทำให้ความดันเลือดสูงตลอดเวลาและเป็นเหตุของเลือดออกได้ และในกลุ่มผู้ป่วยที่ติด cocaine
อาการและอาการแสดง
อาเจียน
มีความดันภายในกระโหลกศีรษะสูง IICP
เวียนศีรษะ ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ
หยุดหายใจ (apnea)
ระดับความรู้สึกเปลี่ยนแปลง แขนหรือขาอ่อนแรงเฉียบพลัน
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง มีการตื่นตัวน้อยลง ซึมลง
ตาพร่ามัว การตอบสนองของรูม่านตาไม่เท่ากันหรือตอบสนองช้า
พูดสื่อสารไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด มีปัญหาในการเขียนหรืออ่านหนังสือ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็กมีปัญหา เช่น มีอาการมือสั่น
เลือดออกภายในเนื้อสมอง (Spontaneous intracerebral hemorrhage)
คือ
ภาวะที่มีเลือดออกในสมอง เกิดจากหลอดเลือดในสมองแตก จะเป็นแบบทันทีทันใด ก้อนเลือดในสมองจะกดหลอดเลือดทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอจนกระทั่งสมองขาดเลือด หากเป็นรุนแรงจะทำให้สมองตายและอันตรายถึงแก้ชีวิต
Intraventricular Hemorrhage
คือ
อาจเกิดจากเลือดที่ออกโดยตรงในโพรงสมองหรือเลือดออกในโพรงสมองปฐมภูมิ (Primary intraventricular hemorrhage) หรือเกิดจากเลือดออกภายในเนื้อสมองก่อน แล้วแตกทะลุเข้าสู่โพรงสมอง/เลือดออกในโพรงสมองทุติยภูมิ(Secondary intraventricular hemorrhage)
ทั้ง 2 กรณี จะส่งผลให้การไหลเวียนของ CSF ถูกอุดกั้น ส่งผลเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (Increased intracranial pressure: ICP) จึงมีอาการผิดปกติต่างๆทางระบบประสาท
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง คือ ภาวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง (Ventricle)
สาเหตุ
เลือดออกในเนื้อสมองจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ไม่ดี
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง แล้วไหลเข้าสู่โพรงสมองในภายหลัง
Cerebellar Hemorrhage
พบความผิดปกติของการทำงานของ สมองส่วนcerebellum
เมื่อมีเลือดออกปริมาณมากจะทำให้กดบริเวณก้านสมอง
ทำให้ผู้ป่วยบางรายเสียชีวิตจากการหยุดหายใจ (apnea)
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ประวัติอาการผิดปกติดัง กล่าวข้างต้นในหัวข้อ อาการ ประวัติโรคประจำตัว ประวัติการใช้ยาต่างๆ
ตรวจร่างกาย
ประเมิน Neuro sign
การตรวจทางห้องปฏิการและการตรวจพิเศษ
CBC BUN Cr- PT-PTT,INR Electrolyte Aerobic culture and sentivity gram stain
CT scan for brain
กรณีศึกษา
ประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 58 ปี มารพ.ด้วยอาการ เรียกไม่รู้สึกตัว ส่งเสียง อือ อา 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล วันที่ 18 มิ.ย.61 เวลา 05.00 น.ตื่นนอนมีอาการปวดหัวเวียนศรีษะ อาเจียนพุ่งไม่มีคลื่นไส้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง พูดไม่ชัด ญาติจึงนำตัวส่งโรงพยาบาล ขณะนำตัวส่งรพ.ผู้ป่วยหยุดหายใจ 2 ครั้งทำการช่วยเหลือโดยทำ CPR หลังจากนั้นผู้ป่วยหมดสติ ได้รับการรักษาใส่เครื่องช่วยหายใจ และทำ CT Scan พบcerebellar hemorrhage with
intraventricular hemorrhage จึง Admit ที่หอผู้ป่วย ศัลยกรรมชาย 2
พยาธิสภาพกรณีศึกษา
เนื่องจากผู้ป่วยเคยตรวจสุขภาพพบมีความดันโลหิตสูง BP ประมาณ 200/100 mmHg. ไม่ได้ทำการรักษา ทำให้ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ ทำให้ภายในหลอดเลือดมีความดันสูง ประกอบกับผู้ป่วยที่มีอายุเพิ่มมากขึ้นทำให้หลอดเลือดแข็งและเปราะบาง ไม่มีความยืดหยุ่น เมื่อความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานทำให้ความดันในหลอดเลือดสูงส่งผลให้หลอดเลือดในสมองแตก ซึงอาการจะเป็นไปตามตำแหน่งที่เกิดซึ่งผู้ป่วยรายนี้พบการแตกของหลอดเลือดที่บริเวณ Cerebellum ไปกดการทำงานของ Brain stem ทำให้หยุดการหายใจ และทะลักเข้าสู่ ventricular โพรงสมอง ส่งผลให้การไหลเวียนของ CSF ถูกอุดกั้น ทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (Increased intracranial pressure: ICP) จึงมีอาการผิดปกติต่างๆทางระบบประสาท
อาการ/อาการแสดงของผู้ป่วย
พูดไม่ชัด ร้องอือ อา
อาเจียนพุ่งเป็นน้ำย่อย ไม่มีคลื่นไส้
ปวดหัว เวียนศีรษะ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หยุดหายใจ ขณะนำตัวส่งโรงพยาบาล
สาเหตุ/ปัจจัย
ผู้ป่วยเคยตรวจสุขภาพพบมีความดันโลหิตสูง ไม่ได้ทำการรักษา
ดื่มสุราเป็นประจำทุกวันวันละ 1 ขวดเป็นเวลา 30 ปี
การวินิจฉัย
Neuro sign
ระดับความรู้สึกตัว หมดสติ Coma
Glasgow coma scale E1VtM1
Motor power แขนขาทั้งสองข้าง grade 0
Pupil 4 mm. Non-react to light both eye
CT Scan
cerebellar hemorrhage with
intraventricular hemorrhage
V/S แรกรับ T = 36.6 °c, HR =82 ครั้ง/นาที,BP = 215/112 mmHg
การรักษาที่ได้รับ
รักษาโดยการช่วยเหลือการหายใจ On ET-tube with bird mark 7 และSuction เมื่อมีเสมหะ
Monitor BP ,Observe V/S ทุก 1 hr.
Neuro sign ทุก 2 hrs.
การรักษาด้วยยา
Nicardipine 1:5 vein 5 mg./hr titrate ทีละ 5 mg/hr Keep BP น้อยกว่าหรือเท่ากับ 140/90 เพื่อรักษาความดันโลหิตสูงอย่ารุนแรง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP) เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณสมองส่วน Cerebellar ร่วมกับ เลือดออกในโพรงสมอง
เสี่ยงต่อการกำซาบเนื้อเยื่อสมองลดลง เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณสมองส่วน Cerebellar ร่วมกับ เลือดออกในโพรงสมอง
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
พร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงจากการมีภาวะเลือดออกในสมองส่วน Cerebellar ร่วมกับ เลือดออกในโพรงสมอง
มีโอกาสขาดสารน้ำและเกลือแร่ เนื่องจาก NPO
ญาติผู้ป่วยวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและกลัวการสูญเสีย