Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทำคลอดรกและการตรวจสอบรก (การพยาบาลในระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอด (.…
การทำคลอดรกและการตรวจสอบรก
ชนิดการลอกตัวของรก
การลอกตัวแบบสมบูรณ์ (Schultze method) รกจะเริ่มลอกตัว ตรงกลางรกก่อน
การลอกตัวแบบไม่สมบูรณ์ (Metthews Duncan method) รกจะเริ่มลอกตัวตรง ริมรกก่อนก่อนที่รกจะคลอดออกมาเรียกเลือดที่ออกมาให้เห็นนี้ว่า vulva sign
อาการแสดงการลอกตัวของรก
Uterine signมดลูกแบ่งออกเป็นสองลอน ลอนบนมีลักษณะ กลมแข็งอยู่ระดับสะดือ
Cord sign Cordเหี่ยว เกลี่ยวคลาย คลำ pulse ไม่ได้
Vulva sign ลักษณะสีแดงคล้ำไหลออกมาทางช่องคลอดทันทีประมาณ 30-60 ซีซี
การช่วยทำคลอดรก
Brandt-Andrew maneuver ผู้ทำคลอดคลึงมดลูกให้หดรัดตัวดีและผลักยอดมดลูกให้มาอยู่ตรงกลางหน้าท้อง กด หน้าท้องบริเวณเหนือหัวเหน่าลงมาในแนวช่องเชิงกรานตอนบนหรือประมาณ 45 องศา
Control cord traction ผู้ทำคลอดคลึงมดลูกให้หดรัดตัวดีและผลักยอดมดลูกให้มาอยู่ตรงกลางหน้าท้อง ใช้มือข้างที่ถนัดจับสายสะดือให้แน่นแล้วดึงสายสะดือเพื่อให้รกและเยื่อหุ้มเด็กคลอดออกมา
Modified crede’s maneuver คลึงมดลูกให้หดรัดตัวดีก่อนแล้วผลักมดลูกให้มาอยู่ตรงกลางหน้า ท้อง จับยอดมดลูกให้อยู่ในอุ้งมือและดันเข้าหา promontory of sacrum หรือประมาณ 30 องศา
การตรวจรกและสายสะดือ
ความยาวของสายสะดือ ปกติสายสะดือมีความยาว 35-100 ซม.
เส้นเลือดที่สายสะดือ เลือดแดง 2 เส้นและเส้นเลือดดำ 1 เส้น
สีและลักษณะของสายสะดือ สายสะดือปกติจะมีสีขาวใสเหลือบน้ำเงิน พันเป็นเกลียว เขียวอมเหลืองอาจเนื่องมาจากทารกเกินกำหนดหรือมี ภาวะเครียดในครรภ์ (fetal distress)
ปมที่สายสะดือ (knot)
False knot สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ false vascular knot ซึ่งเกิดจากเส้น เลือดดำขมวดลักษณะเป็นปมสีขาวเกิดจาก Wharton jelly ที่หุ้มรอบเส้นเลือด
True knot เกิดจากสายสะดือผูกกันเป็นปมแน่นเหมือนผูก
การเกาะของสายสะดือ
เกาะริมขอบรก (marginal insertion หรือ battledore)
เกาะบนเยื่อหุ้มเด็ก (membranous insertion หรือ insertio velamentosa)
เกาะค่อนไปด้านใดด้านหนึ่ง (lateral insertion)
เกาะตรงกลาง (central insertion)
การตรวจรกด้านเด็ก
สีของรกด้านเด็ก การมีสีของขี้เทา
การแผ่ของเนื้อรก
ปกติเนื้อรกจะอยู่ในขอบเขตของ closing ring of winkle waldeyer ซึ่งเป็นวงสีขาว รอบเนื้อรก วงสีขาวนี้เกิดจากการเชื่อมต่อกันของ decidua capsularis และ decidua vera ซึ่งเป็นการจำกัดขอบเขตของเนื้อรกไม่ให้เจริญเติบโตมากกว่าปกติ
ขนาดและความหนาของเนื้อรก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 15-20 ซม.
รกที่เล็กกว่า ปกติเรียกว่า placenta circumvallata
รกที่มีขนาดใหญ่และบางกว่าปกติเรียกว่า placenta
การตรวจเยื่อหุ้มเด็ก
Chorion เป็นเยื่อหุ้มเด็กด้านที่ติดกับผนังมดลูก มีสีขาวขุ่น ไม่เรียบ ฉีกขาดง่าย
Amnion เป็นเยื่อหุ้มเด็กด้านที่ติดกับตัวเด็ก มีลักษณะเหนียวและบางใส เป็นมัน ไม่มีเส้นเลือด เยื่อหุ้มเด็กทั้งสองชั้นสามารถฉีกแยกออกจากกันได้จนกระทั่งถึงจุดเกาะของสายสะดือ
ความสมดุลกันของเยื่อหุ้มเด็กทั้งสองชั้น
สีและลักษณะ ถ้าพบเยื่อหุ้มเด็กชั้น amnion มีสีขุ่นแสดงว่ามีการติดเชื้อ
ระยะห่างจากรอยโหว่กับริมขอบรก ปกติแล้วระยะห่างจากรอยโหว่ถึงริมขอบรกไม่ควรต่ำกว่า 7 ซม. ถ้าต่ำกว่า 7 ซม. แสดงว่ารกเกาะบริเวณส่วนล่างของมดลูก (placenta previa)
รอยโหว่บนเยื่อหุ้มเด็ก เยื่อหุ้มเด็กจะมีเพียง 1 รอย
เยื่อหุ้มเด็กมีขนาดสัมพันธ์กับตัวเด็กหรือไม่
การตรวจรกด้านแม่
เนื้อตาย (infraction) และแคลเซียมเกาะที่เนื้อรก (calcification)
ความสมบูรณ์ของ cotyledon
สีและลักษณะ รกที่มีลักษณะบวม
การตรวจการฉีกขาดของช่องทางคลอด
การฉีกขาดระดับที่ 2เป็นการฉีกขาดที่ลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อของ perineal body แต่ไม่ถึงหูรูดทวารหนัก (annual sphincter)
การฉีกขาดระดับที่ 3เป็นการฉีกขาดที่ลึกลงไปถึงหูรูดทวารหนัก
การฉีกขาดระดับที่ 1 ผิวหนังบริเวณฝีเย็บและเยื่อบุช่องคลอด แต่ไม่ลึก ถึงชั้นกล้ามเนื้อ
การฉีกขาดระดับที่ 4 เป็นการฉีกขาดที่ลึกลงไปจนถึงผนังหน้าท้องของ rectum เรียกการฉีกขาดแบบนี้ว่า การฉีกขาดแบบสมบูรณ์
การพยาบาลในระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอด
สังเกตจำนวนและลักษณะเลือดที่ออกที่ออกทางช่องคลอด มารดาจะเสียเลือดทั้งหมดประมาณ 300 ซีซี. ถ้า มารดามีการเสียเลือดมากกว่า 500 ซีซี.จะถือว่ามีการตกเลือดหลังคลอด
ตรวจกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกคลำบริเวณยอดมดลูก ถ้ามดลูกหดรัดตัวดี จะตรวจพบว่ามดลูกมีลักษณะกลมแข็ง
ตรวจแผลฝีเย็บว่ามีอาการปวด บวม มีก้อนเลือดคั่งใต้แผลหรือไม่
วัดสัญญาณชีพ ได้แก่ ความดันโลหิต ชีพจร การหายใจทุก 15 นาทีใน 1 ชม.แรก และวัดทุก 30 นาทีในชม.ที่ 2 หลังคลอด
ดูแลให้มารดาได้รับประทานอาหารเหลวหรืออาหารอ่อน
ดูแลให้มารดาพักผ่อนอย่างเต็มที่
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
. ดูแลทารกให้ได้รับความอบอุ่นอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ทารกดูดนมมารดาทันทีหรือภายใน 30 นาทีหลังคลอด
ประเมินสภาพทั่วไป