Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus) (การวินิจฉัย (…
Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus)
สาเหตุ
พยาธิของผู้ป่วย
มีโรคประจำตัวคือโรคความดันสูง แต่ไม่ได้รับการรักษา
มีประวัติ ดื่มสุรา เป็นระยะเวลา 10 ปี
อายุ 60 ปี เป็นผู้สูงอายุหลอดเลือดอาจมีการเสื่อมสภาพ การทำงานต่างๆเสื่อมลง
ทฤษฎีตามตำรา
โรคความดันโลหิตสูงที่รักษาควบคุมได้ไม่ดี
หลอดเลือดสมองผิดปกติ เช่น โรคหลอดเลือดสมองเอวีเอ็ม โรคหลอดเลือด สมองโป่งพอง
การติดเชื้อพยาธิในสมอง มักพบในผู้ที่ชอบกินอาหารปรุงสุกๆดิบๆ
เนื้องอกสมอง
โรคที่มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด และ/หรือ ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ติดเชื้อในสมอง
(สมองอักเสบ)
การทานยาละลายลิ่มเลือดเช่น ในโรคหลอดเลือดหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมองที่พบในผู้สูงอายุ
ผู้ป่วยมะเร็ง
ดื่มสุรา
ผู้สูงอายุ
ชนิด
:red_flag: Lobar hemorrhage
intracerebral hemorrhage (ICH) ที่อยู่ในตำแหน่ง cortical หรือ
subcortical ได้แก่ frontal, :red_flag: temporal, parietal, :red_flag: occipital lobes
Non-lobar hemorrhage
intracerebral hemorrhage ที่ basal ganglia (ส่วนใหญ่เป็นที่
putamen), thalamus, cerebellum, brainstem (ส่วนใหญ่เป็นที่ pons)
ผู้ป่วยเป็นชนิดของ Non lobar hemorrhage เพราะเป็นที่พยาธิสภาพที่ส่วนของ Thalamus
พยาธิสรีภาพ
เกิดจากภาวะเลือดออกในเนื้อสมองโดยไม่ได้มีสาเหตุจากการบาดเจ็บ มักพบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเป็นผลจากการฉีกขาดของหลอดเลือดเล็กๆในเนื้อสมอง สาเหตุหลักคือภาวะความดันโลหิตสูง
เมื่อเลือดออกกดเบียดเนื้อสมองข้างเคียงในส่วนของ Parietal lobe ซึ่งทำหน้าที่ควมคุมความรู้สึกด้านการสัมผัส การพูด การรับรส ก็จะทำงานผิดปกติ โดย Parietal lobe เป็นส่วนหนึ่งของ สมองส่วน Cerebrum
Cerebrum มีขนาดใหญ่สุด มีรอยหยักเป็นจำนวนมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ ความสามารถต่างๆ เป็นศูนย์การทำงานของกล้ามเนื้อ การพูด การมองเห็น การดมกลิ่น การชิมรส
อาการและอาการแสดง
อาการของผู้ป่วย
:red_flag: ปวดศีรษะ อาเจียนพุ่ง ลิ้นแข็ง 8 ชั่วโมงก่อนมา รพ. E3VTM4 Concious Drowsiness
ตามทฤษฎี
แขน ขาอ่อนแรง
ปากเบี้ยว หลับตาไม่สนิท
พูดไม่ชัด นึกคำพูดลำบาก
เดินเซ
วิงเวียนศีรษะ
ปวดศีรษะอาเจียน
มองเห็นภาพไม่ชัด มองเห็นภาพซ้อน
ชัก
อาเจียน ปวดศรีษะ
การวินิจฉัย
:red_flag:GCS < 13
แรกรับ E4VTM6
Volume of hematoma > 10 ml (การคำนวณปริมาตรก้อนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร
(X,Y,Z = ความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลางของก้อนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หน่วยเป็น เซนติเมตร)
5
5
2.3 cm * 0.524 = 30.13 cm
midline shift > 0.5 cm ( ก้อนเลือดที่ออกมีการกดเบียดเนื้อสมองอย่างมาก จนแนวกลางของสมองเคลื่อนไปจากเดิมประมาณ 5 มม. ที่เรียกว่า Midline shift )
:red_flag:การทำ CT Scan
การทำ MRI
แพทย์วินิจฉัยจากการทำ CT Brain พบภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus และเลือดออกถึงโพรงสมองด้านขวา จึง Diagnosis คือ Right Thalamic Hemorrhage with intravemtricular hemorrhage
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง
โดยการให้สารน้ำ เกลือแร่ และยา
ต่างๆ (medical treatment)
การรักษาด้วยการผ่าตัด
:red_flag:Craniotomy with
remove hematoma
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ เอาก้อนเลือดออก เหมาะสำหรับล้าง
ระบายก้อนเลือด
ที่อยู่ริมๆสมองออก
Decompressive Craniectomy)
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ (Decompressive Craniectomy) เป็นวิธีการผ่าตัดกะโหลกศีรษะแล้วไม่ปิดชิ้นกะโหลกกลับเข้าไป เมื่อสมองของผู้ป่วยหายบวมและไม่มีอาการแทรกซ้อนอื่นๆ จึงค่อยทำการผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะ (cranioplasty) ในภายหลัง โดยใช้กะโหลกศีรษะเดิมที่แช่แข็งเก็บไว้ หรือใช้กะโหลกศีรษะเทียม
Ventriculostomy
*การผ่าตัดเจาะกะโหลกศีรษะใส่สายระบายน้ำในโพรงสมอง
แพทย์ได้ทำการรักษาแบบประคับประคอง โดยการให้สารน้ำ เกลือแร่และยาผ่านเส้นเลือดดำ รักษาแก้ไขตามอาการของผู้ป่วย
การพยาบาล
มีภาวะซึมเศร้ากับภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไป
พร่อวกิจวัตรประจำวันเนื่องจากแขนขาอ่อนแรง
มีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากการกำซาบของเนื้อสมองลดลงจากการมีเลือดออกภายในสมอง
ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพความเจ็บป่วย การดำเนินของโรคและแผนการรักษาของแพทย์
มีโอกาสเกิดภาวะ Increas Intracranial Pressure เนื่องจากมีเลือดออกในสมองด้านซ้าย