Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus) (การวินิจฉัย (:red…
Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus)
สาเหตุ
พยาธิของผู้ป่วย
มีโรคประจำตัวคือโรคความดันสูง แต่ไม่ได้รับการรักษา
มีประวัติ ดื่มสุรา เป็นระยะเวลา 10 ปี
อายุ 60 ปี เป็นผู้สูงอายุหลอดเลือดอาจมีการเสื่อมสภาพ การทำงานต่างๆเสื่อมลง
ทฤษฎีตามตำรา
โรคความดันโลหิตสูงที่รักษาควบคุมได้ไม่ดี
หลอดเลือดสมองผิดปกติ เช่น โรคหลอดเลือดสมองเอวีเอ็ม โรคหลอดเลือด สมองโป่งพอง
การติดเชื้อพยาธิในสมอง มักพบในผู้ที่ชอบกินอาหารปรุงสุกๆดิบๆ
เนื้องอกสมอง
โรคที่มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด และ/หรือ ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ติดเชื้อในสมอง
(สมองอักเสบ)
การทานยาละลายลิ่มเลือดเช่น ในโรคหลอดเลือดหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมองที่พบในผู้สูงอายุ
ผู้ป่วยมะเร็ง
ดื่มสุรา
ผู้สูงอายุ
ชนิด
:red_flag: Lobar hemorrhage
intracerebral hemorrhage (ICH) ที่อยู่ในตำแหน่ง cortical หรือ
subcortical ได้แก่ frontal, :red_flag: temporal, parietal, :red_flag: occipital lobes
Non-lobar hemorrhage
intracerebral hemorrhage ที่ basal ganglia (ส่วนใหญ่เป็นที่
putamen), thalamus, cerebellum, brainstem (ส่วนใหญ่เป็นที่ pons)
ผู้ป่วยเป็นชนิดของ Non lobar hemorrhage เพราะเป็นที่พยาธิสภาพที่ส่วนของ Thalamus
พยาธิสรีภาพ
เกิดจากภาวะเลือดออกในเนื้อสมองโดยไม่ได้มีสาเหตุจากการบาดเจ็บ มักพบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเป็นผลจากการฉีกขาดของหลอดเลือดเล็กๆในเนื้อสมอง สาเหตุหลักคือภาวะความดันโลหิตสูง
เมื่อเลือดออกกดเบียดเนื้อสมองข้างเคียงในส่วนของ Parietal lobe ซึ่งทำหน้าที่ควมคุมความรู้สึกด้านการสัมผัส การพูด การรับรส ก็จะทำงานผิดปกติ โดย Parietal lobe เป็นส่วนหนึ่งของ สมองส่วน Cerebrum
Cerebrum มีขนาดใหญ่สุด มีรอยหยักเป็นจำนวนมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ ความสามารถต่างๆ เป็นศูนย์การทำงานของกล้ามเนื้อ การพูด การมองเห็น การดมกลิ่น การชิมรส
อาการและอาการแสดง
อาการของผู้ป่วย
:red_flag: ปวดศีรษะ อาเจียนพุ่ง ลิ้นแข็ง 8 ชั่วโมงก่อนมา รพ. E3VTM4 Concious Drowsiness
ตามทฤษฎี
แขน ขาอ่อนแรง
ปากเบี้ยว หลับตาไม่สนิท
พูดไม่ชัด นึกคำพูดลำบาก
เดินเซ
วิงเวียนศีรษะ
ปวดศีรษะอาเจียน
มองเห็นภาพไม่ชัด มองเห็นภาพซ้อน
ชัก
อาเจียน ปวดศรีษะ
การวินิจฉัย
:red_flag:GCS < 13
แรกรับ E4VTM6
Volume of hematoma > 10 ml (การคำนวณปริมาตรก้อนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร
(X,Y,Z = ความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลางของก้อนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หน่วยเป็น เซนติเมตร)
5
5
2.3 cm * 0.524 = 30.13 cm
midline shift > 0.5 cm ( ก้อนเลือดที่ออกมีการกดเบียดเนื้อสมองอย่างมาก จนแนวกลางของสมองเคลื่อนไปจากเดิมประมาณ 5 มม. ที่เรียกว่า Midline shift )
:red_flag:การทำ CT Scan
การทำ MRI
แพทย์วินิจฉัยจากการทำ CT Brain พบภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus และเลือดออกถึงโพรงสมองด้านขวา จึง Diagnosis คือ Right Thalamic Hemorrhage with intravemtricular hemorrhage
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง
โดยการให้สารน้ำ เกลือแร่ และยา
ต่างๆ (medical treatment)
การรักษาด้วยการผ่าตัด
:red_flag:Craniotomy with
remove hematoma
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ เอาก้อนเลือดออก เหมาะสำหรับล้าง
ระบายก้อนเลือด
ที่อยู่ริมๆสมองออก
Decompressive Craniectomy)
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ (Decompressive Craniectomy) เป็นวิธีการผ่าตัดกะโหลกศีรษะแล้วไม่ปิดชิ้นกะโหลกกลับเข้าไป เมื่อสมองของผู้ป่วยหายบวมและไม่มีอาการแทรกซ้อนอื่นๆ จึงค่อยทำการผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะ (cranioplasty) ในภายหลัง โดยใช้กะโหลกศีรษะเดิมที่แช่แข็งเก็บไว้ หรือใช้กะโหลกศีรษะเทียม
Ventriculostomy
*การผ่าตัดเจาะกะโหลกศีรษะใส่สายระบายน้ำในโพรงสมอง
แพทย์ได้ทำการรักษาแบบประคับประคอง โดยการให้สารน้ำ เกลือแร่และยาผ่านเส้นเลือดดำ รักษาแก้ไขตามอาการของผู้ป่วย
การพยาบาล
มีภาวะซึมเศร้ากับภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไป
พร่อวกิจวัตรประจำวันเนื่องจากแขนขาอ่อนแรง
มีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากการกำซาบของเนื้อสมองลดลงจากการมีเลือดออกภายในสมอง
ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพความเจ็บป่วย การดำเนินของโรคและแผนการรักษาของแพทย์
มีโอกาสเกิดภาวะ Increas Intracranial Pressure เนื่องจากมีเลือดออกในสมองด้านซ้าย